ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีผลต่อวัฒนธรรมทางการเมือง แบบประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษาใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีผลต่อวัฒนธรรมทางการเมือง แบบประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษาใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ผู้แต่ง

  • Wanlop Rathachatranon

คำสำคัญ:

วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย, นักศึกษาปริญญาตรี, ปัจจัยเชิงสาเหตุ

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีผลต่อวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งเป็นงานวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้กลุ่มตัวอย่างจากนิสิตนักศึกษาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 399 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน ส่วนสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานประกอบด้วยสถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path Analysis) และสถิติวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง (Structural Equation Modeling : SEM) ผลการวิจัยพบว่า โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างการกล่อมเกลาทางการเมือง และความรู้เกี่ยวกับการเมืองไทย กับวัฒนธรรมทางการเมืองของนิสิตนักศึกษาในเขตกรุงเทพและปริมณฑล มีความเหมาะสมกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ และตัวแปรการกล่อมเกลาทางการเมืองมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษาในเขตกรุงเทพและปริมณฑลมากที่สุด

คำสำคัญ : วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย, นักศึกษาปริญญาตรี; ปัจจัยเชิงสาเหตุ

Downloads

Download data is not yet available.

References

กิตติทัศน์ ผกาทอง. (2556). สังคมวิทยาการเมือง (Political Sociology).
กรุงเทพฯ : บริษัท โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จำกัด.
จรูญ สุภาพ. (2519). ระบบการเมืองเปรียบเทียบและหลักวิเคราะห์การเมืองแผนใหม่.
กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
จุมพล หนิมพานิช. (2528). พื้นฐานสังคม และวัฒนธรรมทางการเมืองไทย.
กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ทิวากร แก้วมณี. (2553). วัฒนธรรมทางการเมืองไทยภาคเหนือ. เวที่สัมมนา
วิชาการ “แผ่นดินเดี่ยวกันแต่อยู่คนละโลก” เวทีวิจัยสังคมวิทยาภาคเหนือ. หน้า 147-161.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยSPSSและ
AMOS. นนทบุรี: บริษัท เอส อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด.
นันทนา นัทวโรภาส. (2557). สื่อสารการเมือง : ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้.
สมุทรสาคร: APPA Printing Group Co.,LTD.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. 2523. กรอบการมองพฤติกรรมการเมือง. วารสารสังคมศาสตร์ ,
17 (1): 76-99
ลิขิต ธีรเวคิน. (2529). วัฒนธรรมทางการเมืองและการกล่อมเกลาเรียนรู้ทางการเมือง.
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ลิขิต ธีรเวคิน. (2547) ความสำเร็จของระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย, หนังสือพิมพ์
ผู้จัดการรายวัน, สืบค้น จากhttp://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9470000056486, เมื่อ 6 พฤศจิกายน 2559
ลิขิต ธีรเวคิน.. (2553). การเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2536). วัฒนธรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในสังคมไทย.
กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ไชยวัฒน์ ค้ำชู และ นิธิ เนื่องจำนงค์. (2559). การเมืองเปรียบเทียบ ทฤษฎี แนวคิด
และกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (2522). การวิเคราะห์ระบบการเมือง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Gabriel, A. & Verba S. (1965). Political Culture and Political
Development. Princeton: Princeton University.
Rathachatranon, W. and Noppon, A. (2017). Community Cultures &
Citizenships Enhancement Process for Delivering Public Service at Local Community Level, Governance Journal 6 (2)

Translated Thai References
Deerawakhin, L. (1986). Political Culture and Political Socialization. Bangkok:
Thammasart University
Deerawakhin, L. (2004). Success of Democratic Regime, Manager Daily (online),
Retrieved on http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9470000056486, ( 6th November 2016)
Deerawakhin, L. (2010). Thai Politics & Government. Bangkok: Thammasart
University
Keawmanee, T. (2010). Political Culture in the Northern. Academic
Seminar “Same Land But Each World. In Symposium of Sociology of Northern Region. Pp. 147 – 161.
Khumchoo, C. & Niti, N. (2016). Political Comparative, Theory,
Concept and Case Study. Bangkok: Chulalongkorn University.
Limmanee, A. (1979). Political System Analysis. Bangkok:
Ramkhamhaeng University.
Nimpanich, C. (1985). Social Basis and Thai Political Culture.
Bangkok: Sukhothai Thammathirat University.
Nuttawaropas. (2014). Political Communication: Theory & Applied.
Samut Sakorn: APPA Printing Group Co.,LTD.
Phakathong, K. (2013). Political Sociology. Bangkok: O. S. Printing House
Company Ltd.
Phongpaew, P. (1980). Political Behaviour Perspectives. Social Science Journal,
17 (1): 76 - 99

Silpjaru, T. (2014). Statistical Analysis and Research by SPSS and
AMOS. Nontha Buri: S. R. Printring Massproduct Co, Ltd.
Suparp, C. (1976). Comparative Political System and New Political
Analysis Principles. Bangkok: Thaiwattanapanich
Thamrongthunyawong, S. (1993). Political Culture of Middle Class in
Thai Society. Bangkok: National Institute of Development Administration.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30