แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สู่ประชาคมอาเซียนของนิคมอุตสาหกรรมใน ภาคตะวันออก : นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สู่ประชาคมอาเซียนของนิคมอุตสาหกรรมใน ภาคตะวันออก : นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี
คำสำคัญ:
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, ประชาคมอาเซียน, แหลมฉบังบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยลักษณะองค์กรการทํางานที่มีผลความสําเร็จของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สู่ประชาคมอาเซียนของนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี โดยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธีทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ผลการวิจัย พบว่าประเภทของกลุ่มธุรกิจ จํานวนเงินลงทุนของสถานประกอบการ ระยะเวลาในการลงทุนของสถานประกอบการในประเทศไทยที่แตกต่างกัน ระยะเวลาการเข้าสู่ตลาดต่างประเทศของอาเซียนของสถานประกอบการที่แตกต่างกันมีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยรวมไม่แตกต่างกัน ผลการวิเคราะห์สมการการถดถอยพหุคูณของปัจจัยด้านการทํางานมีผลต่อความสําเร็จของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยพบว่าปัจจัยด้านความมุ่งมั่นในการทํางาน และด้านการศึกษามีผลต่อความสําเร็จของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าปัจจัยด้านการทํางานทั้ง 5 ด้านผู้ให้ข้อมูลสําคัญให้ความคิดเห็น สอดคล้องกัน และเมื่อการเปรียบเทียบเพื่อหาความสอดคล้องระหว่างผลการวิจัยเชิงปริมาณ และผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สู่ประชาคมอาเซียน ที่ได้จากการศึกษาเชิงปริมาณมีความสอดคล้องกับ การศึกษาเชิงคุณภาพเป็นส่วนใหญ่
คําสําคัญ : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์; ประชาคมอาเซียน; แหลมฉบัง
Downloads
References
ดุสิต.
พรนารี โสภาบุตร. (2555). แนวทางพัฒนาสมรรถนะผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
สาขาอุตสาหการระดับ ภาคีวิศวกรเพื่อเตรียมความพรอมรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วิทยานิพนธวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนุษยและองคการ) คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.
พรพิมล ปลั่งศรีสกุล และคณะ. (2560). การนำนโยบายด้านแรงงานไปปฏิบัติในการ
เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของประเทศไทย, วารสารการบริหารปกครอง 6 (2)
พูนฤดี สุวรรณพันธุ และคณะ. (2552). ทฤษฎีองคการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
เซนตจอหน.
วิทยา สุจริตธนารักษ และกานดา ผรณเกียรติ์. (2559). ปจจัยที่สงผลตอการพัฒนา
ทุนมนุษยในองคกรปกครองสวนทองถิ่น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง
Suttawet C. (2017). The Studies of the ILO’s Industrial Relations
Standards: A Reflection, and the Application Guidelines for Strengthening of the Industrial Relations Law Reform in Thailand, Asian
and ASEAN Community Countries, Governance Journal 6 (2): 30 – 71
Dessler, G. (2004). Management, Principles and Practices for
Tomorrow’s Leaders. New Jersey:Pearson Education.
Gilley, J.W., Steven, A., Eggland, S.A., & Maycunich, A.M. (2002). Principle
of Human Resource Development. Perseus Publishing.
Swanson, R.A., & Holton, E.F. (2001). Foundations of human resource
development. San Francisco: Berrett-Koehler.
Taro Yamane. (1973 ). Statistics: An Introductory Analysis. 3rdEd.
New York. Harper and Row Publications.
Werner, J. M., & Desimone, R. L. (2006). Human resource
development (4th ed). United States of America: Thomson South-Westen.
Yukl, G. A. (2006). Leadership in Organizations. New York: Prentice-
Hall .
Translated Thai References
Plangsriskul, P. et al. (2017). Implementation of Thai Labour Policy In
Integrating into Asean Economic Community, Governance Journal 6 (2)
Sophabitr, P. (2012). An Approach to Developing Competencies of
Associate Industrial Engineers for the Preparedness of ASEAN Economic Community. Master of Science (Human Resource and Organization Development), National Institute of Development Administration
Sujaritthanarak, W. & Kanda, P. (2016). Factors Effecting the
Development of Human Capital in the Local Administrative Organization. Bangkok: Ramkhamhaeng University.
Suwannapun, P. et al. (2009). Organization Theory. Bangkok: St. John
University.
Thongkhaew, T. (2008). Human Capital Theory. Bangkok: Suan Dusit
Rajabhat University.