กระบวนการวิจัยของชุมชนเพื่อการพัฒนาศักยภาพและเครือข่ายตำบลคอรุม อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์

กระบวนการวิจัยของชุมชนเพื่อการพัฒนาศักยภาพและเครือข่ายตำบลคอรุม อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์

ผู้แต่ง

  • Sudarat Rodboonsong
  • Sowatree Nathalang

คำสำคัญ:

กระบวนการวิจัยชุมชน, ศักยภาพ, เครือข่าย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการวิจัยของชุมชนเพื่อการพัฒนาศักยภาพและเครือข่าย กรณีศึกษา ชุมชนตำบลคอรุม อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยอาศัยทฤษฎีต่าง ๆ มาสร้างเป็นกรอบแนวความคิดและทฤษฎีในการวิจัย ได้แก่ ศักยภาพชุมชน การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทุนทางสังคม เครือข่ายชุมชน การพัฒนาแบบยั่งยืน โดยมีขั้นตอนการดำเนินงาน 3 ขั้นตอนคือ  ระยะที่หนึ่ง ระยะเตรียมการวิจัย การมองเป้าหมายร่วมกัน, ระยะที่สอง ระยะดำเนินการวิจัย การสร้างกลไกเพื่อพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้, ระยะที่สาม ระยะหลังการวิจัยการประเมินติดตามผลการดำเนินกระบวนการวิจัยชุมชน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ดังนั้นกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมในงานวิจัยนี้จะเป็นลักษณะของ “ทีมวิจัย”  โดยแบ่งเป็นทีมวิจัยหลักและทีมวิจัยชุมชน ทั้งนี้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชนสมัครใจเข้าร่วมโครงการวิจัยเป็นทีมวิจัยหลัก 19 คนและทีมวิจัยชุมชนในพื้นที่ 12 หมู่บ้าน  จำนวน 85 คน รวมทั้งสิ้น 104 คน ผลการวิจัยพบว่า นักวิจัยและชุมชนได้เรียนรู้ในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน โดยผ่านกิจกรรมหลัก 3 ประการ ได้แก่ การวิจัย การพัฒนาศักยภาพ และการปฏิบัติจริง ซึ่งแบบแผนของกิจกรรมดังกล่าวเกิดจากการดำเนินงานขับเคลื่อนด้วยตัวผู้มีส่วนได้เสีย  หมายถึง กลุ่มแกนนำองค์กรในชุมชนที่เป็นภาคประชาชนและกลุ่มองค์กรหน่วยงานของรัฐที่หนุนเสริมทั้งในและนอกพื้นที่  เพื่อให้เกิด “การรับรู้” ในบริบท โครงสร้าง ทุนศักยภาพ เครือข่าย “ การเรียนรู้” บทเรียนในการจัดการปัญหาต่าง  ๆ ของคนในชุมชนอย่างต่อเนื่องผ่านกระบวนการวิจัยชุมชน สอบทานประสบการณ์ ร่วมกันค้นหา ร่วมคิด ร่วมพัฒนา อันจะนำไปสู่การปฏิบัติการ “การจัดการเปลี่ยนแปลง” ของชุมชนเพื่อยกระดับพัฒนาศักยภาพและเครือข่ายของชุมชนตำบลคอรุม  อำเภอพิชัย  จังหวัดอุตรดิตถ์

คำสำคัญ: กระบวนการวิจัยชุมชน; ศักยภาพ; เครือข่าย

 

Downloads

Download data is not yet available.

References

กนกภรณ์ ชูเชิด. (2547). สรุปการเรียบเรียงวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างชุมชน
แห่งการเรียนรู้ :โครงการวิจัย และการพัฒนาชีวิตสาธารณะท้องถิ่นน่าอยู่. กรุงเทพฯ: มูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.
กิติคักดิ์ สินธุวนิซ. (2552). การสำรวจความคิดเห็นของ ประชาชนในเรืองการ
พัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อ คุณภาพชีวิตที่ดี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ สาธารณสุขแห่งชาติ.
ฐารินี นวนแหยม และคณะ. (2546). ประวัติศาสตร์เมืองพิชัย. เขตการศึกษา
จังหวัดอุตรดิตถ์.
ธวัชชัย เคหะบาล. (2560). การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนประมงอย่างมีส่วนร่วม
กรณีศึกษาบ้านทับปลา ตำบลหนองสรวงอำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์, วารสารการบริหารปกครอง 6 (2)
ประเวศ วะสี. (2537). การพัฒนาการศึกษาในอนาคต ในแนวทางการพัฒนา
การศึกษาในอนาคต. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
พลเดช ปิ่นประทีป. (2549). สังคมไทยเป็นสังคมที่ดีงามและอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน.
กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.
กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คล์.
วิรัตน์ คาศรีจันทร์. (2554). พลังความรู้จากการวิจัยแบบ PAR. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์พี.เอ.ลิฟวิง จำกัด.
ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลคอรุม. (2554). รายงาน
การศึกษาสุขภาวะตำบลคอรุม อำเภอพิชัยจังหวัดอุตรดิตถ์. องค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์.
ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลคอรุม. (2559). รายงาน
การศึกษาสุขภาวะตำบลคอรุม อำเภอพิชัยจังหวัดอุตรดิตถ์. องค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์.
ศักย์ศรน์ มงคลอิทธิเวช. (2552). กระบวนการพัฒนา ศักยภาพชุมชนเพื่อให้เป็น
ชุมชนน่าอยู่ กรณีศึกษา บ้านสบยาบ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุภางค์ จันทวานิช. (2547). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ. (2554). การสาธารณสุขไทย 2551-2553. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์สงเคราะห์ ทหารผ่านศึก.
เสรี พงศ์พิศ. (2548). ฐานคิด : จากแผนแม่บทสู่วิสาหกิจชุมชน. กรุงเทพฯ:
พลังปัญญา.
อคิน รพีพัฒน์. (2547). การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานพัฒนา. กรุงเทพฯ:
ศูนย์การศึกษานโยบายสาธารณสุข.
อรอนงค์ ธรรมกุล. (2554). การมีส่วนร่วมของชุมชนใน กระบวนการพัฒนา
ท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อนันท์ กาญจนพันธุ์. (2544). วิธีคิดเชิงซ้อนในการวิจัยชุมชน: พลวัตและ
ศักยภาพของชุมชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
โอภาส ปัญญา. (2542). ประชาคมรากหญ้า ขบวนการคนกล้า สร้างบ้าน วันใหม่:
ประสบการณ์จริงจากชุมชนเข้มแข็ง ระดับตำบล 4 ภาค. กรุงเทพมหานคร: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.
Brenes, Carlos. (1994). Perfecting Utopia-Extension in Time of
participation. In Forest, Trees and People Newsletter.
Chandler, G.E. (1992). The source and process of empowerment.
Nurs Admin Q, 16(3), 65-71.
Gibsom, C.H. 1991. A concept analysis of empowerment.
2nd.London : An aspenpubblication, 1980.
Guralnik, D. (1970). Webster’s New world Dictionary of the American
language. 2nd ed.New York: the world
McClelland David.C. (1973). Testing for Competency rather than for
Intelligence. American
Rathachatranon, W. and Noppon, A. (2017). Community Cultures &
Citizenships Enhancement Process for Delivering Public Service at Local Community Level, Governance Journal 6 (2)
Stringer,Ernest T. (1999). Action Research 2nd ed California:SAGE.
Tandon, R. (1988). Social transformation and participatory research.
Convergence 21 (2/3) .
Oakley.P. & Marsden.D. (1984). Approach to Participation in Rural
development. Geneva: WHO.

Translated Thai References
Chantavanich, S. (2004). Qulitative Research Methodology. Bangkok
: Publishing Chulalongkorn University.
Community Center for Community Health Care. (2011). Report on the
health of the district. Pichai District, Uttaradit Province.
Community Center for Community Health Care. (2016). Report on the
health of the district. Pichai District, Uttaradit Province. Tambon administrative organization, Pichai District, Uttaradit
Chuchot, K. (2004). Summary of Action Research Collaboration for
a Learning Community : Research Projects And the development of local public life. Bangkok : Community Development Foundation.
Kahaban, T. (2017). Economic Development in the Fishing Villages of
Tubpla, Nhongsuang, Nhongkungsri, Kalasin, Governance Journal 6 (2)
Kanjanapan, A. (2001). Complex thinking in community research :
the dynamics and potential of community development. Bangkok : Thailand Research Fund.
Nunnuay, T. et al. (2003). History of Pichai. Uttaradit Provincial
Education Office.
Panya, O. (2009). The grassroots community The New House :
The Real Experiences of the Stronger Community at the Four Levels. Bangkok : The Local Community Development Institute.
Rapeepat, A. (2004). Participation of people in development.
Bangkok : Center for Health Policy Studies.
Pinprateep, P. (2006). Thai society is a good and peaceful society.
Bangkok : Oaks Publications.
Pitsa, S. (2005). Conceptual Basis : From master plan to
community enterprise. Bangkok : The Power of Wisdom.
Mongkonittiwayt, S. (2009). Development Process Community
Empowerment for a Better Community. Case Study of Ban Sabai, Chiang Saen District. Chiang Rai province. Master Thesis Graduate School, Chiang Mai University
Thammakul, A. (2011). Community participation in Local
development process. Master Thesis Graduate School, Chiang Mai University.
Sindhuvanich, K. (2009). The Opinion Survey. Public Policy
The Royal Institute. (2003). The Royal Institute dictionary 1999.
Bangkok : Nanmeebooks Publication.
Vibulphonprasert, S. (2012). Public Health in Thailand 2008-2010.
Bangkok : The Veteran's Welfare House.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30