มุมมองต่อการสร้างความชอบธรรมทางการเมือง ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ผ่านแนวคิด“ปฎิรูปประเทศไทย” ระหว่าง พ.ศ. 2557-2559

มุมมองต่อการสร้างความชอบธรรมทางการเมือง ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ผ่านแนวคิด“ปฎิรูปประเทศไทย” ระหว่าง พ.ศ. 2557-2559

ผู้แต่ง

  • Prangtip Manthorn
  • Nattakant Akarapongpisak Akarapongpisak

คำสำคัญ:

กระบวนการสร้างความชอบธรรม; คสช; ปฏิรูปประเทศไทย

บทคัดย่อ

 

บทความชิ้นนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่ออธิบายว่าการอ้างอิงแนวคิด “ปฏิรูปประเทศไทย” ในกระบวนการสร้างความชอบธรรมของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ถูกโต้แย้งและท้าทายจากกลุ่มที่มีความเห็นต่างกับรัฐประหาร พ.ศ. 2557 หรือได้รับการสนับสนุนจากกกลุ่มต่างๆทางสังคมอย่างไร โดยการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยผู้ให้ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มคนที่เคยใช้วิธีการในเชิงสัญลักษณ์เพื่อแสดงความไม่เห็นด้วยกับการรัฐประหารและแนวทางหรือนโยบายของ คสช. จำนวน 7 คน และกลุ่มผู้ที่ให้การสนับสนุนในการทำรัฐประหารและสนับสนุนแนวทางหรือนโยบายของ คสช. จำนวน 7 คน

            เมื่อพิจารณาบริบทระหว่าง พ.ศ. 2557-2559 บทความชิ้นนี้เสนอว่า ฝ่ายสนับสนุนมองว่า “การปฏิรูปประเทศไทย” จะนำไปสู่การขจัดความขัดแย้ง ปราบคอรัปชั่น รวมถึงการนำเสนอผลการดำเนินงาน นโยบายผ่านการประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างการรับรู้ให้กับประชาชน ส่วนฝ่ายคัดค้านกลับมองว่านั่นคือวาทกรรม“การปฏิรูปประเทศไทย” ที่ใช้อ้างเป็นเหตุผลเพื่อให้เกิดความชอบธรรมและการยอมรับในการบริหารประเทศ

 

คำสำคัญ: กระบวนการสร้างความชอบธรรม; คสช; ปฏิรูปประเทศไทย

Downloads

Download data is not yet available.

References

จันจิรา สมบัติพูนศิริ. (2558). บทความแปล: นักเคลื่อนไหวสันติวิธี และการต่อสู้
เพื่อประชาธิปไตยในประเทศไทย. [ออนไลน์]. ได้จาก
URL.http://prachatai.com/journal/2015/12/62967 [สืบค้นเมื่อวันที่
2 มกราคม 2559].

ประชาไท. (2557). นร.ม.5 กลุ่มต้านค่านิยม 12 ประการ เผยทหารโทรถามหาที่
ร.ร.-วอน คสช.เลิก ระแวงคนคิดต่าง. [ออนไลน์] ได้จาก :
URL.http://prachatai.com/journal/2014/10/56142 [สืบค้นเมื่อวันที่
11 พฤษภาคม2559]

ประชาไท. (2557). คสช.แถลงผลการดำเนินงานในรอบ 2 เดือน. [ออนไลน์] ได้จาก
: URL. http://prachatai.com/journal/2014/07/54783 [สืบค้นเมื่อ
วันที่ 2 มกราคม 2559]

พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์. (2558). บทเรียน 22 พ.ค. 57 (1) รัฐประหารเพื่ออะไร?.
[ออนไลน์] ได้จาก : URL.http://prachatai.com/journal/2015/01/57538 [สืบค้นเมื่อวันที่
20 พฤษภาคม 2558]

______________(2558) สภาปฏิรูป : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

Likitkijsomboon, Pichit. 2015. What we’ve learned from 22 May 2014
(1) why the coup took place?. (Online).Form
http://prachatai.com/journal/2015/01/57538 (Accessed: May 20,
2015).

Prachatai. 2014. “NCPO announced its 2-months outcomes.”
(Online). Form http://prachatai.com/journal/2014/07/54783/webAccessed:
January 2, 2016.

Prachatai. 2014. “11th grade students claimed officials call their
school to warn them over anti-12-principle movement,
urged NCPO to respect different opinions”. (Online). Form http://prachatai.com/journal/2014/10/56142/webAccessed:
May 11, 2016.

Secretariat of the Parliament. 2015. National Reform Council. Bangkok:
Secretariat of the Parliament Press, the Parliament.

Sombatpoonsiri, Janjira. 2015. Thailand’s nonviolent activists and the
struggle for democracy.(Online). Form
http://prachatai.com/journal/2015/12/62967/webAccessed:
January 2, 2016.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2018-12-26