ท้องถิ่นอภิวัตน์ : นวัตกรรมการจัดการชุมชนตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

ท้องถิ่นอภิวัตน์ : นวัตกรรมการจัดการชุมชนตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

ผู้แต่ง

  • Prayoon Imiwat
  • Patomatat Bannalert
  • Nattapong Rakngam
  • Phuripat Kaewsri
  • Thosapon Pongta
  • Chutima Panyalong
  • Neramit Jitruksa

คำสำคัญ:

ท้องถิ่นอภิวัตน์; นวัตกรรมการจัดการชุมชน; อำเภอพาน  จังหวัดเชียงราย

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเรื่อง “ท้องถิ่นอภิวัตน์: นวัตกรรมการจัดการชุมชนตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการแก้ไขปัญหา และเพื่อสร้างนวัตกรรมการจัดการชุมชนตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลักโดยรวบรวมข้อมูลด้านทุติยภูมิและด้านปฐมภูมิ ผลการวิจัยพบว่า ด้านกระบวนการในการแก้ไขปัญหาเกิดจากบุคคลสามฝ่าย ได้แก่ ผู้นำในชุมชน ข้าราชการในพื้นที่และประชาชนร่วมเสวนาระดมความคิด ร่วมกำหนดวิธีการ และร่วมหาข้อสรุปร่วมกันอย่างสันติวิธี และด้านนวัตกรรมการจัดการชุมชนของตำบลหัวง้ม ได้ริเริ่มขับเคลื่อนเพื่อสร้าง “ธรรมนูญประชาชนคนตำบลหัวง้ม” ซึ่งเป็นผลผลิตทางความคิด กระบวนการ ความร่วมมือจากหลายฝ่าย แสดงออกมาอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน เป็นตัวขับเคลื่อนเป็นกฎเกณฑ์และกติการ่วมกันของชุมชน เพราะชุมชนมีความเชื่อที่ว่าชุมชนจะเข้มแข็งได้ก็ต้องอาศัยความร่วมมือจากคนในชุมชนด้วยกันเองที่จะการกำหนดทิศทางการพัฒนา การจัดการตนเอง การสาธารณสุขพื้นฐาน การอยู่อาศัยร่วมกัน การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน รวมถึงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นของชุมชนท้องถิ่น

 

คำสำคัญ : ท้องถิ่นอภิวัตน์; นวัตกรรมการจัดการชุมชน; อำเภอพาน  จังหวัดเชียงราย

Downloads

Download data is not yet available.

References

กองบรรณาธิการ สำนักมาตรฐานการศึกษา. (2545). ชุดวิชาการวิจัยชุมชน. นนทบุรี: บริษัท เอส อาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด.

โกวิทย์ พวงงาม. (2553). การจัดการตนเองของชุมชนและท้องถิ่น.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท บพิธการพิมพ์ จำกัด.

จันทร์แรม เรือนแป้น และดวงกมล อัศวมาศ. (2555). ศักยภาพของชุมชนในพื้นที่ตำบลโคกโคเฒ่าในการจัดการการเปลี่ยนแปลงทางสังคมแบบพึ่งตนเอง. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์; กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

จำรูญ เร่งถนอมทรัพย์. (2554). รูปแบบการพัฒนาเชิงนวัตกรรมของเทศบาลตำบลในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาการบริหารการพัฒนา; เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่.

ชลิดา ศรมณี และคณะ. (2555). การสร้างสรรค์นวัตกรรมบริการสาธารณะโดยองค์การบริหารส่วนตำบล. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ณรัชช์อร ศรีทอง. (2554). การบริหารงานพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: โอ.
เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

ธีระภัทรา เอกผาชัยสวัสดิ์. (2553). ชุมชนศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บริษัทแอคทีฟ
พริ้น จำกัด.

ไพศาล เนาวะวาทอง. (2551). การจัดการชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา : หมู่บ้านคำปลาหลาย ตำบลบ้านดง อำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น. สารนิพนธ์คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม; กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2550). ภาวะความเป็นผู้นำ. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.

สุภางค์ จันทวานิช. (2548). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: (พิมพ์ครั้งที่ 13) สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (ม.ป.ป.). นวัตกรรม. สืบค้นจาก
http://www.nia.or.th/index.php?section=aboutus&page=strategy
_definition

องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม. (ม.ป.ป.). ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี
พ.ศ. 2559 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. เชียงราย: องค์การ
บริหารส่วนตำบลหัวง้ม.

อรทัย ก๊กผล. (2552). คู่คิด คู่มือ การมีส่วนร่วมของประชาชนสำหรับผู้บริหารท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.

อรัญ จิตตะเสโน และคณะ. (ม.ป.ป.). หลักการและวิธีการบริหารจัดการชุมชน.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุมชน.

Translated Thai References

Akephachaisawat, T. (2010). Community Studies. Bangkok: Active
Printing Co., Ltd.
Chantawanich S. (2005). Qualitative Research. Bangkok: 13th Edition. Chulalongkorn University Press.
Editorial Board. (2002). Office of Educational Standards. Nonthaburi: Community Research Course Package. S-R Printing Mass Product Co., Ltd.
Homan,M.S.(1994).Promoting Community Change.Books/Cole Publishing CompanyPacificGoveCalifornaia.USA.Interesting_menu/PalangPanDin/FileProject/Agiculrure/Banparay.doc

Hua-Ngom Sub-district Administrative Organization. (2016). Common Needs Data Set. Hua-Ngom Sub-district, Phan District, Chaing Rai Province. Year of Publication Unidentified.

Jittaseno, A. & et al. (No Citation). Principle and Methods in Community Administration. Learning Material for Community Learning. Year of Publication Unidentified.

Kokphol, O. (2009). Handbook of People’s Participation for Local Administrators. Bangkok Charansanitwong Printing.

Naowathong, P. (2008). Sufficiency Economy Communtiy Development: A Case Study of Kham Pla Lai Village, Ban Dong Sub-district, Ubonrat District, Khon Kaen Province. Independent Study of Social and Enviornmental Development. Bangkok: Faculty. National Institute of Development Administration.
National Innovation Agency. (No Citation). Innovation.

http://www.nia.or.th/index.php?section=aboutus&page=strategy
_definition

Pongsriwat, S. (2007). Leadership. Bangkok: Expernet.

Puang-ngam, K. (2010). Self-management of Local Community.
Bangkok: Bopit Printing Co., Ltd.

Rengthanomsup, C. (2011). The Innovative Development Model of Sub-district Municipalities in Thailand Upper Northern Region. Ph.D. Dissertation Development Administration. North-Chiang Mai University.

Ruenpan, C. & Asawamas, D. (2012). Community Potential in Khok Kho Thao Sub-district for Self-reliance in the Changing Society. Complete Research Report. Bangkok: Suan Dusit Rajabhat University.

Sornmanee, C. & et al. (2012). Constructing Public Service Innovation by Sub-district Administrative Organization. Bangkok: Ramkhamhaeng University.

Srithong, N. (2012). Community Development Administration.
Bangkok: O-S Printing House.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2018-12-26