มูลเหตุที่ก่อให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชั่นในองค์การบริหารส่วนตำบล: ความคิดเห็นของกำนันและผู้ใหญ่บ้านจังหวัดลำปาง
มูลเหตุที่ก่อให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชั่นในองค์การบริหารส่วนตำบล: ความคิดเห็นของกำนันและผู้ใหญ่บ้านจังหวัดลำปาง
คำสำคัญ:
มูลเหตุที่ก่อให้เกิดการทุจริต; คอร์รัปชั่น; องค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดลำปางบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความสำคัญของมูลเหตุที่ก่อให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชั่นในองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดลำปาง 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อมูลเหตุที่ก่อให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชั่นในองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดลำปาง และ 3) ศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นในองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดลำปาง โดยบทความวิจัยนี้ศึกษาด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยการแจกแบบสอบถามผู้ดำรงตำแหน่งกำนันและผู้ใหญ่บ้าน ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 ชุด และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และ สถิติอนุมานด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า กลไกการตรวจสอบ ระบบอุปถัมภ์ และค่านิยม ล้วนส่งผลต่อการทุจริตคอร์รัปชั่นในองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดลำปาง แสดงให้เห็นถึงกลไกการตรวจสอบยังไม่สามารถจะยับยั้งการทุจริตคอร์รัปชั่นได้อย่างเต็มที่ รวมถึงระบบอุปถัมภ์และค่านิยมที่ถ่ายทอดต่อกันมาจนนำไปสู่ความเต็มใจในการกระทำทุจริต ดังนั้น แนวทางในการแก้ไขจึงควรหามาตรการในการตรวจสอบอย่างเข้มข้น โดยการเพิ่มหน่วยงานหรือบุคลากรเพื่อทำหน้าที่ในการตรวจสอบ ทั้งในระดับตำบล ระดับอำเภอ และระดับจังหวัด เพื่อให้ทันท่วงทีต่อการกระทำการทุจริต แทนหน่วยงานที่มีอยู่ในปัจจุบันที่ไม่เพียงพอต่อปริมาณงาน รวมถึงการกำหนดบทลงโทษให้รุนแรงยิ่งขึ้น เช่นการให้ยุติปฏิบัติหน้าที่ไว้ก่อนภายหลังที่มีการตรวจสอบว่ามีการทุจริตคอร์รัปชั่น เมื่อมีระบบการตรวจสอบที่เข้มแข็ง จะสามารถลดการกระทำทุจริตคอร์รัปชั่นได้อย่างเป็นรูปธรรม
คำสำคัญ: มูลเหตุที่ก่อให้เกิดการทุจริต; คอร์รัปชั่น; องค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัด
ลำปาง
Downloads
References
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2560). รายชื่อองค์การบริหารส่วนตำบล
จำนวน 5,333 แห่ง. กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น กลุ่มงานกฎหมาย
และระเบียบท้องถิ่น 2.
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2561). แผนแม่บท
บูรณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ระยะ 20 ปี
(พ.ศ. 2560 - 2579). กรุงเทพฯ
จารุวรรณ สุขุมาลพงษ์. (2556). แนวโน้มของคอร์รัปชั่นในประเทศไทย. กรุงเทพฯ.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ชงคชาญ สุวรรณมณี. (2561). กลไกตามรัฐธรรมนูญเพื่อปราบการทุจริต.
กรุงเทพฯ: สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
ณัฏฐ์ดนัย ประเทืองบริบูรณ์. (2557). การกำหนดประโยชน์ตอบแทนเงินรางวัล
ประจำปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่.
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ทัชชวัฒน์ เหล่าสุวรรณ. (2556). ปฏิสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างท้องที่กับท้องถิ่นใน
การพัฒนาตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม.
วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์. 2(2) : 57-75
ไททัศน์ มาลา. (2559). การคงอยู่ของกำนันผู้ใหญ่บ้านในบริบทของการกระจาย
อำนาจสู่ท้องถิ่น: กรณีศึกษาจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
วารสารวิจัยและพัฒนาวไลย
อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
11(1) : 305-317
ไทยพับลิกา. (2557). สถิติร้องเรียนทุจริตองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ในมือ ป.ป.ช.
6,200 เรื่อง ย้อนหลัง 5 ปี ชี้มูล 66 สำนวน. [Online]:
https://thaipublica.org/2014/09/statistics-local-government-
fraud/
พรเทพ จันทรนิภ. (2558). การพัฒนารูปแบบการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นใน
ภาครัฐเพื่อการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีในสังคมไทย. วารสารเกษม
บัณฑิต. 16(1) : 88-101
พิชญ์ณิฐา พรรณศิลปะ และคณะ. (2559). การคอรัปชั่นในระบบราชการไทย : แนว
ทางการป้องกันและแก้ไข. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 4(2) : 326-
340
ผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2552). สังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตในสังคมไทย
: วิธีการ ตัวชี้ ผลกรพะทบ และข้อคิดเพื่อการแก้ไข. วารสารวิชาการ
ป.ป.ช. 2(2) : 32-46
ผู้จัดการออนไลน์. (2557). อปท. ลำปางยังครองแชมป์ ถูกร้องเรียนการทุจริตเกือบ
100 เรื่อง.
[Online]: https://mgronline.com/local/detail/9570000130295
วิชชุกร นาคธน. (2559). ปัญหาการทุจริตทางการคลังในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น:
ศึกษากรณีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์.
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. 18(1) : 76-81
วิทยากร เชียงกูล. (2549). แนวทางปราบคอร์รัปชั่นอย่างได้ผล : เปรียบเทียบไทย
กับประเทศอื่น. กรุงเทพฯ : สายธาร.
วิศาล ศรีมหาวโร (2554). การเมืองไทยระบบหรือคน : การพัฒนาวัฒนธรรมและ
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. [Online]:
https//wiki.kpi.ac.th/index.php?
ศิริวรรณ มนอัตระผดุง. (2555). สถานการณ์การคอร์รัปชั่นของประเทศไทย.
วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์. 2(1) : 1-9
สถาบันพระปกเกล้า. (2558). การพัฒนามาตรการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริตในภาครัฐอย่างเป็นรูปธรรม. เอกสารสังเคราะห์งานวิชาการกลุ่ม :
หลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 18
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2559). แผน
แม่บทบูรณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ระยะ
20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579). กรุงเทพฯ
สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำปาง. (2557). สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำ จ.ลำปาง
แถลงผลการดำเนินงานในรอบ 3 เดือน. [Online]:
http://thainews.prd.go.th/website_th/
archive/news_detail/TNSOC5701200010080
อภิชัย พันธเสน และคณะ. (2551). การศึกษาแนวทางความร่วมมือกับภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต.
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
อุทิศ บัวศรี. (2559). การปลูกฝังฐานความคิดและการบริหารจัดการผลประโยชน์
ทับซ้อน. (เอกสารประกอบการบรรยาย) เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2559 ณ
ห้องอเนกประสงค์ ศาลาลูกขุนใน สำนักราชเลขาธิการ,
Stevens, J. (1992). Applied multivaliate statistics for the social
science. (Second
edition). Harper and ROW: New York.
Vito, T. (1998). Corruption Around the World : Causes,
Consequences, Scope, and Cures. IMF Working
Paper.International Monetary Fund, Fiscal Affairs
Department.
Translated Thai References
Buasri, U. (2016). Cultivating the mindset and managing conflicts of
interest. HandoutOn May 26, 2016, at Multipurpose room, Jury
Pavilion in Office of the Secretary General
Board of The National Anti-Corruption Commission. (2018). Master Plan
for Integrated Anti-Corruption and Misconduct for 20 Years
(2017 - 2036). Bangkok
Chantraniph, P. (2015). The Development of a Corruption Prevention
Model in the Public Sector for Good Governance in Thai Society. Kasem Bundit Journal. 16(1) : 88-101
Chiangkul, W. (2006). Effective Corruption Suppression: Comparison
with Other Countries. Bangkok. Saitarn
Department of Local Administration. (2017). List of 5,333 Subdistrict
Administrative Organizations. Local Law and Order Division 2
King Prajadhipok's Institute. (2015). The Development of Measures to
Prevent and Suppress Corruption in The Public Sector.
Academic Synthesis Group: Democratic Politics Course for
Senior Executives, Class 18
Laosuwan, T. (2013). Power Interaction between Villages and Local
Government in the Development of Kham Reang Sub-district, Kantharawichai, Maha Sarakham. Journal of Political Science and
Law Kalasin Rajabhat University. 2(2) : 57-75
Lampang Public Relation Office. (2014). The Office of The National
Anti-Corruption Commission (Lampang) Announces its 3 Month Operation. [Online]: http://
thainews.prd.go.th/website_th/ archive/news_detail/TNSOC5701200010080
Manager Online. (2014). Lampang Local Government Still Champion
Nearly 100 Fraud Complaints. [Online]:
https://mgronline.com/local/detail/9570000130295
Mala, T. (2016). THE EXISTENCE OF KAM-NAN AND POO-YAI-BAN IN THE
CONTEXTS OF LOCAL DECENTRALIZATION. VRU Research and
Development Journal Humanities and Social Science. 11(1)
: 305-317
Monataraphadung, S. (2012). The Situation of Corruption in Thailand.
Valaya Alongkorn Review. 2(1) : 1-9
Nakthon, W. (2016). Problem of fiscal fraud in local government
organization: a case study of Phranakhon Si Ayutthaya
province. Journal of Management Science. Phranakhon Si
Ayutthaya Rajabhat University. 18 (1): 76-81
Office of The National Anti-Corruption Commission. (2018). Master Plan
for Integrated Anti-Corruption and Misconduct for 20 Years
(2017 - 2036). Bangkok
Pannasil, P. Pakdee, P. and Sanya, K. (2016). Corruption in the Thai
Bureaucracy: The Guidelines on Prevention and Solution.
Journal of MCU Peace Studies. 4(2) : 326-340
Pongphaijit, P. (2009). Synthesis of research on anti-corruption in Thai
society: methods,
indicators, results, and ideas for corrective action. Journal of the National Academy of Sciences 2 (2): 32-46.
Pratuangboriboon, N. (2014). An Annual Incentive Specification of A
Local Administrative Organization in Chiangmai Province.
Chiang Mai, Maejo University.
Puntasen, A., Et al. (2008). A Study of Cooperation Among The
Government, The Private Sector and The Public in The
Prevention and Suppression of Corruption. Full Research
Report. Bangkok: Office of the National Counter Corruption
Commission.
Srimahawaro, W. (2011). Thai Politics, System or Person: The
Development of Culture and Political Participation of The
People. [Online]:https//wiki.kpi.ac.th/index.php?
Sukhumanpong, C. (2013). Trends of Corruption in Thailand. Office of
the Secretary of the House of Representatives
Suwanmanee, C. (2017). Constitutional Mechanism for the
Suppression of Corruption. Bangkok: National Council for
Driven Reform.
Thai Publica. (2014). Statistics of corruption complaints of local
administration organizations in the NCC 6,200 case around
5 years ago, 66 Prosecution. [Online]:
https://thaipublica.org/2014/09/statistics-local-government-
fraud/