ปัญหาจากการจดทะเบียนรับรองบุตร ตามกฎหมาย

ผู้แต่ง

  • Parichat Pujit คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

คำสำคัญ:

การรับรองบุตร, บุตรนอกสมรส, การจดทะเบียน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ประเด็นปัญหาทางกฎหมายที่เกิดขึ้นกับการจดทะเบียนรับรองที่เกิดนอกสมรสบุตรตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2478 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจดทะเบียนครอบครัว (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2533 โดยเฉพาะเรื่องการใช้ดุลยพินิจของนายทะเบียนในการรับจดทะเบียนรับรองบุตร เพื่อให้บุตรที่เกิดนอกสมรสมีสิทธิเช่นเดียวกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายจากการที่ชายและหญิงอยู่ร่วมกันฉันท์สามีภริยา เช่น สิทธิในการได้รับการอุปการะเลี้ยงดู สิทธิในการรับมรดก หรือหน้าที่ของบิดามารดาและบุตรที่มีต่อกัน ความรับผิดตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย บทความนี้ยังได้เสนอแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขการกำหนดอายุในการให้ความยินยอมของเด็กเพื่อลดการใช้ดุลยพินิจของนายทะเบียนและลดภาระการพิจารณาคดีในศาลเยาวชนและครอบครัว เพื่อให้เกิดการบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง
ประสพสุข บุญเดช. (มปป). คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5
ว่าด้วยครอบครัว. พิมพ์ครั้งที่ 15. สำนักอบรมเนติบัณฑิตยสภา.
ไพโรจน์ กัมพูสิริ. (2560). คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5
ครอบครัว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รัศฎา เมธาวิกุล. (2517). บุตรนอกสมรส. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, คณะ
นิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วีระวรรณ จิตรากร. (2549). การรับรองบุตร. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต,
คณะนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.



Translated Thai References
Boondech, P. (n.d.). Description of Civil and Commercial Code, Part 5:
Family. (15th edt). Bangkok: Bar Association Press.
Chitrakon, W. (2006).Child Certification. Master’s Thesis, Faculty of Law,
Thammasat University.
Kumpusiri, P. (2017). Description of Civil and Commercial Code, Part 5:
Family. Bangkok: Thammasat University Press.
Metawikul, R. (1974).Illegitimate Child. Master’s Thesis, Faculty of Law,
Thammasat University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-29