ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสัมฤทธิ์ผลการจัดการสิ่งแวดล้อมของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ผู้แต่ง

  • Lomyen Sisouvong คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • Jitti Kittilertpaisal คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • Chardchai Udomkijmongkol คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • Watcharapong Intrawong มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

คำสำคัญ:

ปัจจัยที่มีอิทธิพล, สัมฤทธิ์ผลการจัดการสิ่งแวดล้อม, สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสัมฤทธิ์ผลการจัดการสิ่งแวดล้อมของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2) ศึกษาสัมฤทธิ์ผลการจัดการสิ่งแวดล้อม 3) สร้างและพัฒนาตัวแบบมีอิทธิพลต่อสัมฤทธิ์ผลการจัดการสิ่งแวดล้อมและ 4) นำตัวแบบมาพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาสัมฤทธิ์ผลการจัดการสิ่งแวดล้อม การสัมภาษณ์ผู้ทรงวุฒิจำนวน 10 คนและกลุ่มตัวอย่าง 720 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ชนิดแบบมีโครงสร้างและแบบสอบถามชนิดประมาณค่าและสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาผลการวิจัยผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสัมฤทธิ์ผลการจัดการสิ่งแวดล้อม พบว่า การนำนโยบายไปปฏิบัติ ความตระหนักในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของชุมชนโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน 2) สัมฤทธิ์ผลการจัดการสิ่งแวดล้อมของ สปป.ลาว โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน 3) สร้างและพัฒนาตัวแบบที่มีอิทธิพลต่อสัมฤทธิ์ผลการจัดการสิ่งแวดล้อม พบว่า การนำนโยบายไปปฏิบัติ ความตระหนักในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชน และ 4) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาสัมฤทธิ์ผลการจัดการสิ่งแวดล้อม พบว่า 1) การจัดสรรงบประมาณในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง และ 2) ภาวะผู้นำในการแก้ปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน และด้านความตระหนักในการอนุรักษ์

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง
กระทรวงแผนการและการลงทุน. (2562). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมครั้งที่ 8
(2559 – 2563). นครหลวงเวียงจันทน์ : กระทรวงแผนการและการลงทุนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.
กัมปนาท พรพรหมวินิจ. (2559). ประสิทธิผลการนำนโยบายพัฒนาชุมชนตามแนวทาง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติของเทศบาลในภาคตะวันออก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 36(1): 1-17
เบญจวรรณ บุณยรัตน์. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประชาชนชายแดนไทย-ลาว. วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกสาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
พิศิพร ทัศนา. (2558). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยใน
เขตพื้นที่เทศบาลนครพิษณุโลก. วิทยานิพนธ์ปริญญาโทสาขารัฐประศาสน
ศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
เมธา ยุทธนาโยธิน. (2550). การนำนโยบายการกำจัดขยะมูลฝอยไปปฏิบัติ : ศึกษา
เฉพาะกรณีเขตสัมพันธวงศ์. สารนิพนธ์ปริญญาโทสาขารัฐประศาสนศาสตร์,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
รุ่งทิพย์ บำรุงสุข. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการสิ่งแวดล้อม : กรณีศึกษา
เขตลุ่มน้ำแม่กลอง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม. การค้นคว้าอิสระปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศูนย์ดิเรก ชัยนาม. (2555). การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน
ในการจัดการสิ่งแวดล้อม: เขตเทศบาลเมืองท่าโขลง จังหวัดปทุมธานี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุภาวดี อำไพ. (2559). อิทธิพลของความรู้ต่อประสิทธิผลในการบริหารจัดการขยะ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอพรรณานิคม จังหวัด
สกลนคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาโทสาขารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสกลนคร.
อลงกรณ์ อรรคแสง. (2558). ปัญหาและอุปสรรค อำนาจหน้าที่ในการบริหารงาน
ขององค์การปกครองท้องถิ่นของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหว่างขั้นเมืองและขั้นแขวงในการจัดการสิ่งแวดล้อม. มหาสารคาม : วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม .
อารีย์ พลภูเมือง. (2559). การพัฒนาระบบคัดแยกมูลฝอยในชุมชนแบบมีส่วนร่วม
เขตเทศบาล ตำบลเมืองสรวง อำเภอเมืองสรวง จังหวัดร้อยเอ็ด.
วิทยานิพนธ์ปริญญาโทสาขาสาธารณสุขศาสตร์,มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.







Translated Thai References
Akaseang, A . (2015). Problems and obstacles Authority in the
administration of local government. Lao People's Democratic Republic Between city and district stages in environmental management. Maha Sarakham: College of Politics and Government Mahasarakrm university .
Aumpai, S. (2016). The influence of knowledge on the effectiveness of
the management of waste in local government Phanna Nikhom district. Thesis M.P.A. , Sakon Nakhon Rajabhat University.
Boonyarat, B. (2014). Factors affecting natural resource conservation
and Environment of the Thai-Lao border. Thesis Ph.D. of
Regional Development Strategy program, Chiang Rai Rajabhat
University.
Bunlungsuk, R. (2013). Factors affecting environmental management:
a case study of Mae Klong River Basin, Mueang District, Samut Songkhram Province. Independent research, MBA, University of Technology Rajamangala Thanyaburi.
Chainam, S. (2013). The study of ways to promote community
participation in environmental management: Municipality of Tha Muang Pathum Thani Province. Bangkok: Thammasat University.
Ministry of plans and investments. (2019). The Economic and Social
Development Plan 8th (2016 - 2020). Vientiane: Ministry of plans and investments, Lao People's Democratic Republic.
Pomvinit, K. (2016). The Effectiveness of community development policy
based on the sufficiency economy philosophy of the municipality in the eastern region. Journal of Humanities and Social Sciences Mahasarakham University, 36 (1): 1-17
Ponphumueng, A. (2016). Participatory Development of a Solid Waste
Segregation Program in the Community of Muang Suoung, Roi Et Province. Thesis: M.P.H., Mahasarakham University.
Tadsana, P. (2015). The participation of the people in solid waste
management in the area of Phitsanulok. Thesis M.P.A. , Phibun Songkhram Rajabhat University.
Yodthanayotin, M. (2007). The Solid Waste Policy Implementation: A
Case Study Samphanthawong. Thesis M.P.A., Srinakharinwirot University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-29