บ้านดินอีสาน : รูปแบบและการใช้สอย

ผู้แต่ง

  • Panya Thaochalee คณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • Panut Potibut คณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • Sitisuk Jumpadang คณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ภูมิปัญญาอีสาน, บ้านดินอีสาน, รูปแบบการใช้สอย

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

เดิมคนอีสานสร้างบ้านด้วยไม้และวัสดุธรรมชาติอื่นๆ  ต่อมาทรัพยากรไม้ลดลงและหายากมากขึ้น จึงใช้ดินมาเป็นส่วนประกอบในการสร้างบ้าน บ้านดินมีความแข็งแรงคงทน แต่ไม่ทนน้ำท่วมขัง เจ้าของบ้านสามารถดูแล ซ่อมแซมบ้านได้ง่ายๆ ด้วยตนเอง บ้านดินจึงเหมาะกับวิถีชีวิตคนอีสาน บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอมุมมองของการพัฒนารูปแบบบ้านดิน บนฐานภูมิปัญญาอีสาน โดยเก็บรวบรวม วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก การจัดการความรู้จากปราชญ์ชาวบ้านและผู้รู้ของชุมชน จำนวน 9 คน ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ชัยภูมิและยโสธร ผลการวิจัยพบว่าบ้านดินอีสาน ประยุกต์มาจากบ้านทรงไทยอีสาน ตั้งบนทำเลน้ำไม่ท่วมขัง ประกอบด้วยฐานรากเทคานคอนกรีต เพื่อป้องกันความชื้นจากดิน ตัวบ้านเป็นทรงกลม เน้นพื้นที่ใช้สอยและความแข็งแรง ก่อด้วยอิฐดินดิบตามแนวนอน ทำให้บ้านมีผนังหนาเป็นฉนวน ประกอบด้วย เรือนนอนใหญ่ เกย เรือนไฟ ชานแดด และห้องน้ำ หลังคาทรงสูงช่วยระบายอากาศ และใช้งบประมาณต่ำเพียงหลักหมื่น เป็นบ้านพอเพียง แข็งแรง ทนทาน สร้างและซ่อมแซมได้ด้วยตนเอง

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2554). ความมั่นคงของ
มนุษย์ประเทศไทย ปี 2554. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
www.bps.m-society.go.th/uploads/content/download/ 539681f52ccac.pdf (24 ธันวาคม 2561)
จักรสิน น้อยไร่ภูมิ. (2556). บ้านดินในรวันดา สร้างง่าย ราคาถูก
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
https://www.creativemove.com/architecture/masoro-village-project-rawanda/(22 สิงหาคม 2018).
จตุพร ตั้งศิริสกุล. (2550). การประยุกต์ใช้วัตถุดิบทางธรรมชาติในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพของก้อนอิฐดินดิบเพื่อใช้ในการก่อสร้างบ้านดิน.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
โจน จันได, แดเนียล ดี ซีราส และสุรัช สะราคา. (2555). บ้านดินวิธีง่าย ๆ
ของคนอยากมีบ้าน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : เกษตรกรรม
ธรรมชาติ.
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2548). แนวคิดเศรษฐกิจชุมชน ข้อเสนอทางทฤษฎี
ในบริบทต่างสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้ง.
ณภัทร ศรีวัฒนประยูร. (2557). เรื่องน่ารู้ของบ้านดินที่สร้างด้วยอิฐดินดิบ.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ธนา อุทัยภัตรากูร. (2548). จากดินสู่บ้าน สร้างบ้านดิน. พิมพ์ครั้งที่ 4
กรุงเทพฯ : เฟื้องฟ้า พริ้นติ้ง.
นิรนาม. (2560). บ้านดินทรงกลม. เข้าถึงเมื่อ 25 ตุลาคม 2561. เข้าถึงได้
จากhttp://www.monolithic.org/floo/floorplans-pc/io-24/photos.
พลเดช วรฉัตร. (2554). บ้านดินกับความคิดพอเพียง. เข้าถึงเมื่อ 25 ตุลาคม 2561. เข้าถึงได้จาก http://www.gotoknow.org/blog/agriculturesopon/44221.
สิทธิพงษ์ เพิ่มพิทักษ์. (2555). เทคนิควิธีการสร้างบ้านดิน. วารสารวิชาการ
ศิลปะ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก. 2(2), 93-102.
อนุกูล ตันสุพล. (2559). นิเวศวิทยาวัฒนธรรม : กุญแจสู่การพัฒนาที่
ยั่งยืน. วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 12(1). 193-221.
เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2544). ภูมิปัญญาอีสาน. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์
พริ้นติ้ง แอนพับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
Mgr Online. (2551). บ้านดิน “ถู่โหลว” มรดกจีนมรดกโลก. เข้าถึงเมื่อ
9 สิงหาคม 2561. เข้าถึงได้จาก
https://mgronline.com/china/detail/951000008

Translated Thai References
Jandai, J., Daniel, D. C. and Surus, S. (2012). A Simple
house for people who want to have a house. 5th eds.
Bangkok : Natural agriculture.
Mgr Online.(2008). Adobe House “Tu Loow” Chinese heritage
World heritage. [Online] Source: https://mgronline.com
/china/detail/951000008 (9 August 2018)
Ministry of Social Development and Human Security. (2011).
human security in Thailand 2011 years. [Online].
Sources: www.bps.m-society.go.th/uploads/content/
download/539681f52ccac.pdf (24 December 2018).
Narsupha, C. (2005). Economic concept Theoretical
proposals in the community context. 2nd eds. Bangkok : Amarin Printing.
Na Thalang, E. (2001). Isan Wisdom. Bankok: Amarin printing
& publishing public company limited.
Niranam. (2017). Round-shaped clay house. [Online].Sources:
http://www.monolithic.org/…/floo…/floorplans-pc/io-
24/photos (25 October 2018)
Noiraiphum, C. (2013). Adobe House in Rawanda easy to
create, cheap environmentally friendly.[Online].Sources:
https://www.creativemove.com/architecture/masoro-village-project-rawanda/ (22 August 2018).
Pempithak, S. (2012). Techniques for building a clay
house. Academic Art journal, Phitsanulok, Naresuan University. 2(2), 93-102.
Tansupol, A. (2016). Cultural Ecology : A Key to Sustainable
Development. Journal of Humanities and Social sciences Songklanakarin University. 12(1), 193-221.
Thangsirisakul, J. (2007). The use of natural materials for
enhancing the performance of adobe brick in earth construction. Master’s thesis Fuculty of Architecture and Planning, Thammasat University.
Srisawatprayoon, N. (2014). Interesting stories of clay
houses built with raw clay bricks. Institute of Research
and Development Rajamangala university of technology thanyaburi.
Worachat, P. 2011. Adobe house with sufficient thought. [Online].Sources: http://www.gotoknow.org/
blog/agriculturesopon/44221 (25 October 2011)
Uthaiphattrakoon, T. (2005). From the soil to the house,
building the soil house. 4th eds. Bangkok : Fueng Fah
Printing.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-29