มาตรการในการคุ้มครองแรงงานผู้สูงอายุ

ผู้แต่ง

  • Kitima Tirasethasema คณะนิติศาสตร์, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

คำสำคัญ:

มาตรการ, คุ้มครองแรงงาน, แรงงานผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์มาตรการทางกฎหมายคุ้มครองการจ้างงานผู้สูงอายุตามกฎหมายไทยเปรียบเทียบกฎหมายสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่นเรื่อง ชั่วโมงทำงาน ประเภทของงาน และการกำหนดอัตราค่าจ้างที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการส่งเสริมและมาตรการทางกฎหมายคุ้มครองการจ้างงานผู้สูงอายุตามกฎหมายไทยในเรื่อง ชั่วโมงทำงาน ประเภทของงาน และการกำหนดอัตราค่าจ้างที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อเสนอแนะแนวทางกำหนดมาตรการทางกฎหมายเพื่อคุ้มครองแรงงานสูงอายุ ซึ่งเน้นพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 โดยวิเคราะห์ เรียบเรียง และเปรียบเทียบข้อมูลแนวคิด นโยบาย ทฤษฎี มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองการทำงานของผู้สูงอายุจากหนังสือและบทความกฎหมาย รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ เอกสารที่เกี่ยวข้องขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization) ประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศไทย เกี่ยวกับการคุ้มครองการทำงานสำหรับผู้สูงอายุเรื่อง ชั่วโมงทำงาน ประเภทของงาน และการกำหนดอัตราค่าจ้างที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ บทความนี้ยังได้เสนอแนวทางการกำหนดมาตรการทางกฎหมายเพิ่มความคุ้มครองสำหรับแรงงานสูงอายุไว้โดยเฉพาะในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เพื่อให้เกิดการบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม

References

เอกสารอ้างอิง
กระทรวงแรงงาน. (2561). เอกสารประกอบการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณา
อัตราค่าจ้างผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3/2561, (เอกสารอัดสำเนา).
ชลัยพร อมรวัฒนา และคณะ. (2551). รายงานโครงการศึกษาวิจัยแนวทางและ
มาตรการส่งเสริมการมีงานทำในผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมรักษ์ รักษาทรัพย์, กาญจนี กังวานพรศิริและนงนุช อินทรวิเศษ (2553). รายงาน
ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาอาชีพและโอกาสที่จะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมสอดคล้องกับผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). สรุปผลที่สำคัญการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศ
ไทย พ.ศ. 2560, (ออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.nso.go.th/sites/ 2014/DocLib13/ด้านสังคม/สาขาแรงงาน/การทำงานของผู้สูงอายุ/การทำงานประชากรสูงอายุในประเทศไทย_2560.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2558). สรุปผลที่สำคัญการทำงานของผู้สูงอายุใน
ประเทศไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
Econ News. (2558). “การทำงานของผู้สูงอายุความจำเป็นที่ต้องผลักดัน”(ออนไลน์),
สืบค้นจาก www.econnews.co.th/การทำงานของผู้สูงอายุ/(25 กุมภาพันธ์ 2558)
The Japan Institute for Labour Policy and Training. (2016). Labor Situation
in Japan and Its Analysis: General Overview 2015/2016. Tokyo: The Japan Institute for Labour Policy and Training.


Translated Thai References
Amornwattana, C. et al. (2008). the Report of the guideline and working
promotion measures for aging people. Bangkok: Chulalongkorn
University,
Econ News. (2015). “The Working of Aging Workforces, the Necessity to be
Pushed,” EconNews (25 February 2015) from Online), Retrieved from www.econnews.co.th/ the working of aging workforces/.
National Statistical Office. (2017). Key summary of the working by aging
workforces in Thailand B.E.2560, (Online), Retrieved from http://www.nso.go.th/sites/ 2014/DocLib13/social/labor field/ the working by aging workforces/ the working of the aging population in Thailand_2560.
National Statistical Office. (2015). Key summary of the Working of Aging
People in Thailand. Bangkok : National Statistical Office.
Raksasap, S. et al. (2010). The Project of Suitable Occupation and
Earned Income Opportunities in Accordance with Older Workers. Bangkok: Thailand Reesearch Fund.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-30

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)