ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการขยายตัวของเมือง กรณีศึกษาเทศบาลตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • Nunthaphot boonprasith วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • Vissanu Zumitzavan วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการ, โครงสร้างพื้นฐาน, การขยายตัวของเมือง

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองในพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยประยุกต์ใช้การวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ครอบคลุมทั้งด้านเนื้อหาและตัวเลขสถิติซึ่งสะท้อนมิติด้านความกว้างและความลึกของการนำเสนอข้อค้นพบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง จากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่เป็นบุคลากรส่วนท้องถิ่น ระดับผู้บริหารหน่วยงานเทศบาล  จำนวน 13 คน กลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่เป็นสมาชิกสภาเทศบาลตำบล จำนวน 12 คน และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่เป็นบุคลากรของรัฐที่ปฏิบัติหน้าที่ภายนอกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเทศบาลบ้านเป็ด จำนวน 3 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 28 คน ผลการศึกษา พบว่า  การขยายตัวของประชากรสร้างปัญหาในพื้นที่ชานเมืองที่เกิดจากการขยายตัวของเมือง ในเขตจังหวัดขอนแก่น  เทศบาลตำบลบ้านเป็ดมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และเกิดปรากฏการณ์การกระจายตัว   ของที่อยู่อาศัย จนเกิดการกระจายตัวแบบไร้ทิศทาง (Urban Sprawl) ซึ่งเกิดขึ้นในเขตเมืองใหญ่และดึงดูดประชากรเข้าสู่ตัวเมือง จึงนำมาซึ่งปัญหาด้านการคมนาคม การจัดการพื้นที่รับน้ำและภัยธรรมชาติ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดำรงชีวิตประจำวันของประชาชน

References

เอกสารอ้างอิง
กิติศักดิ์ พรพรหมวินิจ. (2553). การศึกษาประสิทธิผลการให้บริการสาธารณะตาม
หลักการบริหารจัดการที่ดีกรมอนามัย. กรุงเทพฯ : กระทรวงสาธารณสุข.
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน. ( 2546). การตอบสนองความจำเป็นพื้นฐานต่อ
ประชาชน. กรุงเทพฯ : หจก.ซูเลียนพระราม 2
โกวิทย์ พวงงาม. (2549). แนวคิดว่าด้วยการจัดทำบริการสาธารณะของท้องถิ่น.
กรุงเทพฯ: เอกสารเผยแพร่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จีรนันต์ อินทฉิม และคณะ.(2551). การสร้างเมืองสร้างชุมชนให้มีสภาพแวดล้อม
ที่ดี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบาย
สาธารณะ, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ชูศักดิ์ เที่ยงตรง. (2518). การปกครองท้องถิ่นคือรากฐานของการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชูเชิด ปวนปินตา. (2555). การศึกษาสภาวะการดำเนินงานของเมืองน่าอยู่เทศบาล
ตำบลแม่ริม อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่,วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
ดิษฐพล กอหรั่งกูล, (2546). ประสิทธิผลโครงการก่อสร้างด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ตามแผนการกระจายอำนาจของรัฐ : กรณีศึกษาเทศบาลตำบลเจ้าพระยาสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี, วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะมหาวิทยาลัยบูรพา
นันทภัทร สีลูกหว้า. (2549 ). การศึกษาการประยุกต์ระบบสาระสนเทศทาง
ภูมิศาสตร์เพื่อช่วยในการวางแผนโครงสร้างพื้นฐานในเขตเทศบาลเมืองท่าโขลง จังหวัดปทุมธานี, [ออนไลน์], สืบค้นจาก http://beyond.library.tu.ac.th/cdm/singleitem/collection/thesis/id/13296/rec/1 (เมื่อ 20 พฤษภาคม 2561).
พงศ์สัณห์ ศรีสมทรัพย์ และคณะ. (2545). หลักการบริการสาธารณะ. กรุงเทพฯ:
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ไพบูลย์ ช่างเรียน. (2516). การพัฒนาสู่ความเป็นเมืองไพบูลย์, การปกครอง
มหานคร. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
รักชนก โสภาพิศ. (2542). การมีส่วนร่วมและความคาดหวังของผู้ปกครองต่อการ
จัดการอาชีวศึกษา ของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2545). วัตถุประสงค์ของการปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ:
บี. เจ. เพลทโปรเซสเซอร์
วิรัตน์ วศะรงรอง. (2549). การศึกษาการประยุกต์ระบบสาระสนเทศทางภูมิศาสตร์
เพื่อวิเคราะห์แบบการเจริญเติบโตของชุมชนเทศบาลเมืองจันทบุรี.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2545). ปัจจัยหรือทรัพยากรการบริหารจัดการ.
กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. (2546). องค์ประกอบในการพัฒนาเมืองน่าอยู่การขยายตัว
ของเมืองเพื่อตอบปัญหาขยะในเขตอำเภอ เมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ : สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย.
การุณย์ คล้ายคลึง(2550). แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริการสาธารณะ,
กระแสใหม่และสิ่งท้าทาย. กรุงเทพฯ: จุดทอง.
อุดม รักศักดิ์ศรี. (2553). การศึกษากระบวนการการบริหารงานช่างในองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดตรัง. ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เอกชัย การวัฒมี. (2543). ความต้องการขั้นพื้นฐานในการพัฒนา.กรุงเทพฯ:
สยามสปอร์ตซินดิเดท.
Gulick , L. (1937). Papers on the Science of Administration. New York:
Institute of Public Administration.
Henri, Fayol. (1949). General and Industrial Management. London: Sir
Issac Pitman & Sons Ltd.
Hoyt, H. (1939). The Structure and Growth of Residential
Neighborhoods in America Cities Washington, D.C : Federal
Housing Administration.
Kevin, L. (1977). The image of the city. Cambridge: The MIT Press
Louis, W. (1938). Urbanism as a Way of Life form American. In Wilson, R.
A., & Schulz, D. A. (1978). Urban sociology. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall.

Translated Thai References
Changrian, P. (1973). Developed into a city. Administrative divisions of
Bangkok. Bangkok: Thai Wattana Panit
Environment Institute of Thailand. (2003). Element in the development
of cities and the city's expanding to respond to the problem of trash in Muang District, Suphanburi, Suphanburi province. Bangkok: Environment Institute of Thailand.
Inthachim, J. et al. (2008). Appearance of the city is livable. Master of
Public Administration in Public Policy, Naresuan University.
Karnwatnee, E. (2000). Basic needs for development. Bangkok:
Siam Sport Syndicate
Korrangkoon, D. (2003). Effectiveness of project construction of
infrastructure. According to the decentralization plan of the
state: A case study of Municipality Chao Phraya Surasak, Sriracha, Chonburi. Master of Public Administration in Public Policy, Burapha University.
Lorsuwanrat, L. (2003). The Reaction Basic necessities for people.
Bangkok: Sulean Rama 2
Promwinit, K. (2010). Effectiveness of public service in accordance
with good management. Bangkok: Ministry of Public Health.
Puangngam, K. (2006). Concept of Public Service in Local Government.
Bangkok: Publication of the Center for Democratic Development, Thammasat University.

Puanpinta, C. (2012). A study of implementation of healthy city
condition of Maerim muniicpality, Maerim district, Chiangmai province. Master of Public Administration in Public Policy,Chianmai Rajabhat University.
Raksaksri, U. (2010). Technician management processes in the Trang
Provincial Administration Organization. Master Degree in Department of Local Administration, College of Local Administration, Khon Kaen University.
Silookwa, N. (2005). Application of geographic information system for
infrastructure planning: a case study for Mueng Tha Khlong Municipality, Pathumthani Province. Master of Public Administration in Public Policy, Thammasat University.
Sisomsub, P. (2002). The principle of public service. Bangkok: Faculty
of political science, Ramkhamhaeng University.
Sophapi, R.(1999). Parents participation and expectation towards the
vocational management of private vocational schools in Nakhon Pathom Province. Silpakorn University, Nakorn Pathom.
Sereerat, S. (2002). Factors or resources management. Bangkok.
Thiengtrong, C. (1975). Local government is the foundation of
democracy. Bangkok: Thammasat University.
Wasarongrong, W. (2006). A study of geographic information system
application to synoptic analysis of growth of the community of the municipality of chanthaburi. Bachelor of human and social science thesis. Technology of geography. The Graduate School of Burapha University.
Wiruchnipawan, W. (2002). The purpose of local government. Bangkok:
B.J. plate processor

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-29

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)