การจัดการทุนมนุษย์ของธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ การขนส่งเพื่อสร้างความได้เปรียบทาง การแข่งขันในประเทศไทย
คำสำคัญ:
การจัดการทุนมนุษย์, ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์การขนส่ง, ความได้เปรียบทางการแข่งขันบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการจัดการทุนมนุษย์ของธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์การขนส่ง เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในประเทศไทย กับข้อมูลเชิงประจักษ์ 2) สร้างรูปแบบการจัดการทุนมนุษย์ของธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์การขนส่ง เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในประเทศไทย ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสมผสานการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เจาะลึก เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง สำหรับผู้ให้ข้อมูลหลักได้แก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์การขนส่ง จำนวน 18 คน สำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์การขนส่งในประเทศไทย จำนวน 320 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการโครงสร้างด้วยโปรแกรม Mplus ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. การจัดการทุนมนุษย์ ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์การขนส่ง และความได้เปรียบทางการแข่งขันธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์การขนส่งในประเทศไทย พบว่า โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2. การสร้างรูปแบบการจัดการทุนมนุษย์ของธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์การขนส่ง เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในประเทศไทย พบว่า ประกอบด้วย การจัดการทักษะ การจัดการความสามารถ การขนส่ง การจัดการความรู้ การกระจายสินค้า การจัดการทัศนคติ การบริการลูกค้า และการดำเนินงาน โดยการนำรูปแบบ MODEL : SACKRACE มาประยุกต์ใช้เพื่อเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน และสามารถดำเนินกิจการอย่างอยู่รอดยั่งยืน ดังนั้น ธุรกิจสามารถนำรูปแบบ MODEL : SACKRACE ไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจของตนตามความเหมาะสมกับลักษณะพื้นที่ของธุรกิจเพื่อสนับสนุนธุรกิจอย่างยั่งยืน
Downloads
References
เกริกวุฒิ กันเที่ยง. (2558). กลยุทธ์การพัฒนารูปแบบการขนส่งสินค้าทางถนนเพื่อ
การเพิ่มขีดความสามารถ ทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ภายใต้ข้อกำหนดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์. (2552). การจัดการโลจิสติกส์และซับพลายเชน. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : ออพเซ็ท ครีเอชั่น จำกัด.
ธวัชชัย ศุรธณี. (2555). ). ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาและปรับปรุงเพื่อเพิ่มความพึง
พอใจในงานบริการโลจิสติกส์ค้านการขนส่ง 12. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยยีจอมเกล้าธนบุรี.
ประกาศิต เจริญหิรัญ. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจด้านคุณภาพการ
บริการทางโลจิสติกส์ในการกระจายสินค้าเครื่องมือผ่าตัดใหญ่ในประเทศ
ไทย. วิทยานิพนธ์ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร. (2560). ทุนมนุษย์กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แนวคิดใหม่. กรุงเทพฯ : บริษัท เอช อาร์ เทรนนิ่ง แอนด์ คอนซัลแทนท์ จำกัด.
ผลิน ภู่จรูญ. (2548). การจัดการธุรกิจร่วมสมัย: กรอบแนวคิดใหม่ทางการจัดการ
ในการสร้างและพัฒนาพลวัตในการแข่งขัน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
พสุ เดชะรินทร์. (2546). Balanced Scorecard รู้ลึกในการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมลพรรณ เชื้อบางแก้ว. (2551). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ไพรินทร์ ยศเลิศ. (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์. การ
ค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. : บริษัท
ซี เอฟ พี จำกัด.
วิทยา ด่านธำรงกูล. (2546). การบริหาร = Management. กรุงเทพฯ :
เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น.
วีระพงษ์ วงษ์สุรินทร์. (2555). การวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของ
อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
ศิริรัตน์ สัยวุฒิ. (2558). การจัดการโลจิสติกส์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการ
ดำเนินงานของผู้ประกอบการในพื้นที่อุตสาหกรรมจังหวัดพระนคร
ศรีอยธุยา. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
สุพัตรา วะยะลุน. (2558). กลยุทธ์การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนเพื่อเพิ่ม
ขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ กลุ่มสินค้าเครื่องประดับเงิน ในจังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตเทคโนโลยีอุตสาหกรรม : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
สิทธิชัย ศรีเจริญประมง. (2556). แนวทางการพัฒนาการดำเนินการด้านทุนมนุษย์
เพื่อพัฒนาคุณภาพการบริการของสายการบินในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สิทธิเดช ลีมัคเดช. (2548). การพัฒนาธุรกิจอีคอมเมิร์ซ” วารสารคอมเมิร์ซ 73 ;
102 -105.
สมศจี ศิกษมัต. (2556). ผลกระทบของการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำเป็น 300 บาท:
ประยุกต์ใช้แบบจำลองดุลยภาพทั่วไป (General Equilibrium Model). กรุงเทพฯ : ธนาคารแห่งประเทศไทย.
สัมมา รธนิธย์. (2553). ภาวะผู้นำของผู้บริหาร. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง.
อรพรรณ มาตช่วง. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทุนมนุษย์กับความ
ได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Ukenna, S. I., N. A. Carol and M.C. Olise. (2010). Effect of Investment in
Human Capital Development on Organisational Performance :
Empirical Examination of the Perception of Small Business Owners in Nigeria,” European Journal of Economics, Finance and Administrative Sciences. 26 : 93 - 107
Translated Thai References
Chuenkaew, P. (2008). Human Resource Management. Bangkok :
Bangkok: University.
Danthamrongkul, W. (2003). Management = Management. Bangkok :
Third Wave Education.
Hiran, C. (2012) Declaration. Factors affecting satisfaction in logistics
Service quality in distribution of major surgical instruments in Thailand. Thesis of Master of Economics, Chiang Mai University.
Leemakdet, S. (2005). E-Commerce Business Development, Commerce
Journal. 73: 102 -105.
Kaniang, K. (2015). Strategies for developing the road transport model
for capacity enhancement Competition of the logistics service industry under the ASEAN Economic Community. Thesis of Doctor of Philosophy, Surin Rajabhat University.
Matuang, O. (2014). Relationship between human capital
management and competitive advantage of small and medium-sized businesses in the northeastern region. Thesis of Master of Management, Mahasarakham University.
Pasadecharin. (2003). Balanced Scorecard knows deeply in practice.
Bangkok: Chulalongkorn University.
Phucharoon, P. (2005). Contemporary business management: a new
Management framework for creating and developing competitive dynamics. 4th edition, Bangkok: National Institute of Development Administration.
Sawatsarangkrai, P. (2017). Human capital and human resource
development, new concepts. Bangkok : HR Training and Consultant Company Limited.
Sammatthanit. (2010). Executive leadership. Bangkok: Millet.
Siamsamat, S. (2013). The impact of the minimum wage increase of
300 baht: Applying the general equilibrium model. Bangkok : Bank of Thailand.
Siwut, S. (2015). Logistics management affecting the operational
efficiency ofentrepreneurs in the industrial area of Phra Nakhon Si Ayutthaya province. Thesis of Master of Business Administration, Phra Nakhon Si Ayutthaya Rajabhat University.
Sricharoenmongkol, S. (2013). Guidelines for the development of
human capital operations to improve the quality of service of airlines in Thailand. Thesis of Master of Arts, National Institute of Development Administration.
Supanee, T. (2012). Strategies for development and improvement to
Increase satisfaction in logistics services, transportation opposition, 12. Thesis of Master of Science, University of Technology Thonburi.
Supattraayalun. (2015). Logistics and supply chain management
strategies to increase the competitiveness of One Tambon One Product products. Silver jewelry product group In Surin province. Thesis of Doctor of Philosophy in industrial Technology, Surin Rajabhat University.
Theppitak, T. (2009). Logistics and chain management. 2nd edition,
Bangkok: Option Creation Co., Ltd.
Wongssurin, W. (2012). Analysis of competitiveness of Thai garment
industry. Thesis of Master of Economics, University of the Thai Chamber of Commerce.
Yotlert, P. (2009). Factors influencing human capital development.
Independent research Master of Education, Silpakorn University.