ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการตื่นตัวทางการเมืองกับความรู้สึกมีสมรรถนะทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล

ผู้แต่ง

  • Wanlop Rathachatranon คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • Noppon Akahat คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

คำสำคัญ:

ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ, การตื่นตัวทางการเมือง, ความรู้สึกมีสมรรถนะทางการเมือง

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการตื่นตัวทางการเมืองกับความรู้สึกมีสมรรถนะทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 540 รายซึ่งเป็นนิสิตนักศึกษาที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ใช้สถิติวิเคราะห์การทดสอบสมมติฐานประกอบด้วยสถิติวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง (Structural Equation Modeling : SEM) ผลการทดสอบพบว่า รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการตื่นตัวทางการเมืองกับความรู้สึกมีสมรรถนะทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของกลุ่มนิสิตนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง
ญานิทธิ์ สันตะพันธุ์ (2549). วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย. (ออนไลน์) สืบค้นจาก www.pub-law.net
เข้าถึงเมื่อ 12 ตุลาคม 2560
ทินพันธ์ นาคะตะ (2546). วัฒนธรรมการเมืองแบบประชาธิปไตย.(ออนไลน์) สืบค้นจาก
www.tea.gspa_buu.net เข้าถึงเมื่อ 12 ตุลาคม 2560
ลิขิต ธีรเวคิน (2551) วัฒนธรรมทางการเมืองและการพัฒนาประชาธิปไตย. (ออนไลน์) สืบค้นจาก
www.dhiravegin.com เข้าถึงเมื่อ 12 ตุลาคม 2560
ลิขิต ธีระเวคิน (2553). การเมืองการปกครองของไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วัลลภ รัฐฉัตรานนท์. (2556). เทคนิคและวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: ทองกมล.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2557). การพัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย.
กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
Almond, G. A., et al., (2006). Comparative Politics Today: A World View. New York: Longman.
Almond, G.A. and s. Verba. 1965. The Civic Culture : Political Attitudes and Democracy
in Five Nations.Boston : Little, Brown & Company.
Campbell, A. 1954.The Volter Decides. Evanston : Row & Peterson.
Easton, D. and J. Dennis. 1967. “The Child’s Acquisition of Regime Norms : Political
Efficacy”.American Political Science Review. 1 (March 1967) : 25-26.

Translated Thai References
Dhiravegin, L. (2008). Political Culture & Democracy Development. (Online), Retrieved on
www.dhiravegin.com (Accessed when 12 October 2017)
Dhiravegin, L. (2010). Thai Politics & Government. Bangkok: Thammasart University Press.
Rathachatranon, W. (2013). Research Methods & Technics of Political Science. Bangkok:
Tongkamon Press.
Nakata, T. (2003). Democratic Political Culture. (Online), Retrieved on www.tea.gspa_buu.net
(Accessed when 12 October 2017)
Santaphan, Y. (2006). Thai Political Culture. (Online), Retrieved on www.pub-law.net (Accessed
when 12 October 2017)
The Secretariat of the House of Representatives. (2014). Development of Democratic Politics
& Government. Bangkok: The Secretariat of the House of Representatives

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-29