สถานภาพองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือระหว่าง พ.ศ. 2547 - 2560

สถานภาพองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือระหว่าง พ.ศ. 2547 - 2560

ผู้แต่ง

  • Suphakarn Sophaporn
  • Alongkorn Akkasaeng

คำสำคัญ:

สถานภาพองค์ความรู้; รัฐประศาสนศาสตร์; ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสถานภาพองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่ พ.ศ. 2547-2560 ด้วยการจัดให้อยู่ภายใต้ 4 หมวด ได้แก่ หมวดนโยบายสาธารณะ หมวดทฤษฎีและพฤติกรรมองค์การ หมวดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และหมวดการคลังและงบประมาณ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากข้อเขียนทางรัฐประศาสนศาสตร์ที่เขียนขึ้นโดยนักวิชาการที่เป็นอาจารย์ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปีการศึกษาที่ 1/2560 ซึ่งถูกผลิต ตีพิมพ์ และเผยแพร่ต่อสาธารณะระหว่างปี พ.ศ. 2547-2560 ภายใต้เงื่อนไขที่เป็นข้อเขียน 4 ประเภท ได้แก่ (1) บทความตีพิมพ์ในวารสารและหนังสือรวมบทความในระดับชาติ (2) ผลงานตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ (3) โครงการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งเป็นหัวหน้าโครงการ และ (4) ตำราทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยไม่รวมเอกสารคำสอน  ข้อเขียนทางรัฐประศาสนศาสตร์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2547-2560 มีจำนวนทั้งสิ้น 346 เรื่อง ประกอบด้วย หมวดนโยบายสาธารณะ จำนวน 184 เรื่อง หรือร้อยละ 53.18 หมวดทฤษฎีและพฤติกรรมองค์การ จำนวน 113 เรื่อง หรือร้อยละ 32.66 หมวดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ จำนวน 25 เรื่อง หรือร้อยละ 7.23 และหมวดการคลังและงบประมาณ จำนวน 24 เรื่อง หรือร้อยละ 6.94 ดังนั้น แวดวงรัฐประศาสนศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงควรให้ความสำคัญกับการศึกษาในหมวดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และหมวดการคลังและงบประมาณเพิ่มขึ้น ควบคู่ไปกับการศึกษาในหมวดนโยบายสาธารณะ และหมวดทฤษฎีและพฤติกรรมองค์การ

 

คำสำคัญ: สถานภาพองค์ความรู้; รัฐประศาสนศาสตร์; ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

References

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). เรื่องมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐ
ประศาสนศาสตร์ พ.ศ. 2558. (ออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/news/data6/Bachelor%20of%20Public%20Administration_m1.pdf, เข้าถึงเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2560.
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. (2558).
ประวัติความเป็นมาของหลักสูตรสาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏมหาสารคาม. (ออนไลน์) สืบค้นจาก http://pa.rmu.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=22&Itemid=34, เข้าถึงเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2560.
นิศาชล พรหมรินทร์. (2552). วิวัฒนาการกระบวนทัศน์รัฐประศาสนศาสตร์ไทย
พ.ศ. 2498-2551, (วิทยานิพนธ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
บัญชา พุฒิวนากุล และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2561). กระบวนการนำนโยบายแก้ไขความ
ยากจนไปปฏิบัติขององค์กรภาครัฐในจังหวัดกาฬสินธุ์, วารสารการบริหารปกครอง, 7 (2): 32 – 56.
ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2552). การกำหนดนโยบายสาธารณะ: กระบวนทัศน์ แนวทาง
ตัวแบบ กรอบและเทคนิค. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
พิทยา บวรวัฒนา. (2526). รัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย: ผลงานของ
นักวิชาการไทยสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: พีระพัธนา.
วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (ม.ป.ป.). ประวัติวิทยาลัย
การเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สืบค้นจาก http://copag.msu.ac.th/th/index.ph
p?BL=aboutcopag/aboutcopag, เข้าถึงเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2560.
วีระศักดิ์ เครือเทพ. (2547). รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (MPA): หลักสูตร
การศึกษาที่ล้ำหน้าหรือทว่าจะไม่ทันยุค? ใน การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ 5 (พ.ศ. 2547). กรุงเทพฯ: คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์.
สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. (2554). ประวัติความ
เป็นมาของสาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สืบค้นจาก http://politic.ubru.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=1&Itemid=2, เข้าถึงเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2560.
โสภารัตน์ จารุสมบัติ. (2550). สถานะและความก้าวหน้าสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์.
ใน เอกสารประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 8 (พ.ศ. 2550), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมืองไทยในระยะเปลี่ยนผ่าน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Translated Thai References

Bhutwanakul, B. and Chamruspanth, B. (2018). Adapting Poverty Solving
Policy Implementation to Government Oraganization in Kalasin Province, Governance Journal, 7 (2): 32 – 56.
Boossabong, P. (2015). Public Policy Making: Paradigms, Guidelines,
Models, Frameworks and Techniques. Bangkok: Sema Dharma.
Bowornwathana, B. (1983). Public Administration in Thailand: Works of
Modern Thai Scholars. Bangkok : Phiraphatthana.
College of Politics and Governance, Mahasarakham University (n.d.).
History of the College of Politics and Governance. (Online), Retrieved on http://copag.msu.ac.th/th/index.php?BL=aboutcopag/
aboutcopag (Accessed when 14 November 2017)
Faculty of Political Science and Public Administration, Mahasarakham
Rajabhat University. (2015). History of the Public Administration Program. (Online), Retrieved on http://pa.rmu.ac.th/index.php?option=com_content&view
=article&id=22&Itemid=34 (Accessed when 14 November 2017)
Jarusombat, S. (2007). Status and Progress in Public Administration. In 8th
National and International Conference on Political Science and Public Administration. Bangkok: Thammasart University Press.
Krueathep, W. (2004). Master of Public Administration (MPA): Advanced
Education Program or Not Modern?. In 5th National and International Conference on Political Science and Public Administration. Bangkok: National Research Council of Thailand.
Ministry of Education. (2015). Thai Qualifications Framework for Bachelor
of Public Administration. (Online), Retrieved on http://www.mua.go.th/users/tqfhed/news/data6/Bachelor%20of%20Public%20Administration_m1.pdf (Accessed when 14 November 2017)
Prommarin, N. (2009). The Evolution of Public Administration
Paradigms in Thailand During 1955-2008 A.D., Thesis Master of Public Administration, Chulalongkorn University.
Public Administration, Ubon Ratchathani Rajabhat University. (2011).
History of the Public Administration Program. (Online), Retrieved on http://politic.ubru.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=1&Itemid=2 (Accessed when 14 November 2017)

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2019-12-27

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)