การสร้างภาพลักษณ์สำหรับการเป็นเมืองท่องเที่ยว ของเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ จังหวัดเชียงราย ภายใต้ระบบ 1 เมือง 2 แบบ
การสร้างภาพลักษณ์สำหรับการเป็นเมืองท่องเที่ยว ของเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ จังหวัดเชียงราย ภายใต้ระบบ 1 เมือง 2 แบบ
คำสำคัญ:
ภาพลักษณ์; เมืองท่องเที่ยว; เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ ผลกระทบ และแนวทางการพัฒนาภาพลักษณ์เมืองท่องเที่ยว ของเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ ภายใต้ระบบ 1 เมือง 2 แบบ โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่า นักท่องเที่ยวมองภาพลักษณ์ของเมืองท่องเที่ยวเชียงของก่อนการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษเป็นเมืองที่มีบรรยากาศริมสองฝั่งแม่น้ำโขง เป็นแหล่งสินค้าหัตถกรรม และเมืองผ่านสำหรับเดินทางไปลาวและจีน ด้านคนเชียงของมองว่าเชียงของมีอาหารที่โดดเด่น (ไก) บรรยากาศสองฝั่งแม่น้ำโขง และเป็นแหล่งสินค้าหัตถกรรม ผลกระทบด้านบวกภายหลังการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษฯ นำไปสู่การลงทุนที่เพิ่มขึ้น การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การวางผังเมืองภายใต้แนวคิดระบบ 1 เมือง 2 แบบ ขณะที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ระบบเศรษฐกิจชุมชน และวิถีชีวิตของคนท้องถิ่นได้รับผลกระทบ และแนวทางการพัฒนาภาพลักษณ์ฯ คือ 1) เชิงรุก จัดทำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนโดยพิจารณาจากความโดดเด่นของทรัพยากรการท่องเที่ยวในพื้นที่ 2) การป้องกัน สำรวจและสร้างมาตรฐานการท่องเที่ยว 3) การแก้ไข ยกระดับและเพิ่มมูลค่าสินค้า และ 4) การตั้งรับ จัดฝึกอบรมเพื่อพัฒนาและสร้างองค์ความรู้แก่ผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่
คำสำคัญ : ภาพลักษณ์; เมืองท่องเที่ยว; เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ
Downloads
References
จารุณี ทรัพย์บุญโต. (2555). ภาพลักษณ์การท่องเที่ยวจังหวัดเชียงรายจากมุมมอง
ประชาชนในท้องถิ่นและต่างถิ่น. วิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ชยุต จิตธำรงสมุทร. (2558). การบริหารจัดการการท่องเที่ยวอำเภอเชียงของในฐานะ
อำเภอชายแดน. วารสารวิชาการ สถาบันการพลศึกษา, 7(3), 77 - 88.
ชุติมา ปัญญาหลง. (2559). รายงานวิจัย การรับรู้และกระบวนการสร้างการรับรู้สิทธิ
และหน้าที่ตามกฎหมายของประชาชนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.
นิวัฒน์ ร้อยแก้ว. ประธานกลุ่มคนรักเชียงของ. สัมภาษณ์, 18 มีนาคม 2560.
ปรีชา อุปโยคิน. (2547). โครงการกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการ
ดำเนินการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจชายแดนจังหวัดเชียงราย. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
พิภพ บุญธรรม. (2561). การบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนใน
การพัฒนาเมืองโบราณอู่ทองขององค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). วารสารการบริหารปกครอง, 7 (2): 474 - 501
วิรัช ลภิรัตนกุล. (2540). การประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศศิธร รุ่งกิจเลิศสกุล ผู้ประกอบการร้านอาหารและที่พัก. สัมภาษณ์, 18 มีนาคม
2560.
สงวน ซ้อนกลิ่นสกุล. รองประธานหอการค้าจังหวัดเชียงราย. สัมภาษณ์, 19 มีนาคม
2560.
สุริยา วงค์ชัย. ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ลื้อลายคำ. สัมภาษณ์, 19 มีนาคม 2560.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). การพัฒนา
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานสถิติจังหวัดเชียงราย. (2560). ข้อมูลสารสนเทศจำนวนที่พัก/โรงแรม
ห้องพักที่จดทะเบียนในจังหวัดเชียงราย. (ออนไลน์). สืบค้นจาก https://5bit.ly/2VQeBPl, เข้าถึงเมื่อ 18 ตุลาคม 2559.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). รายงานสถิติจังหวัด. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน
สถิติแห่งชาติ.
สำนักงานจังหวัดเชียงราย. (2559). แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย. เชียงราย: สำนักงาน
จังหวัดเชียงราย.
แพร่พรรณ เหมวรรณ อภิเศก ปั้นสุวรรณ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร (2553).
รูปแบบการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงที่ตั้งและผลกระทบของการพัฒนาอุตสาหกรรมประเทศไทย. วารสารภูมิศาสตร์, 34(3), 37-57.
Dickman, C.R. (1996). Overview of the Impacts of Feral Cats on
Australian Native Fauna. Australian Nature Conservation Agency: Canberra.
Translated Thai References
Bultham, P. (2017). Administration to Promote People Participation in
Development of Designated Area of U-Thong Ancient Town of the Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization). Governance Journal, 7 (2): 474 - 501
Chiang Rai Provincial Statistical Office (2017). Information about
Accommodation / Hotels, Rooms Registered in Chiang Rai. (Online). Retrieved from https://bit.ly/2VQeBPl, October 18, 2017.
Hammawan, P., Pansuwan, A., Charoenpanyanet, A. (2010). Industrial
Development Location Pattern and Impact of Industrialization in Thailand. Geographical Journal, 34(3), 37 - 57.
Jittumrongsoontorn, C. (2558). Tourism Management Administration of
Chiang Khong District as Border District. Academic Journal Institute of Physical Education. 7(3), 77 - 88.
Laphirattanakul, W. (1997). Public relations. Bangkok: Chulalongkorn
University.
National Statistical Office. (2017). Provincial Statistical Report. Bangkok:
National Statistical Office.
Office of the National Economic and Social Development Council. (2015).
Development of special economic development zones of Thailand. Bangkok: Office of the National Economic and Social Development Council.
Chiang Rai Provincial Office. (2016). Chiang Rai Development Plan.
Chiang Rai: Chiang Rai Provincial Office.
Panyalong, C. (2016). Perception Research Report and the Process of
Creating Awareness of Legal Rights and Duties of People in Chiang Rai Special Economic Development Zone. Chiang Rai: Chiang Rai Rajabhat University.
Prokaew, N. Chairman of Kon Rak Chiang Khong Group. Interview, 18 March
2017
Rungkitlertsakun, S. Restaurant and accommodation operators. Interview,
18 March 2017.
Saunglinsakun, S. Vice President of Chiang Rai Chamber of Commerce.
Interview, 19 March 2017.
Supbunto, J. (2012). Tourism Image of Chiang Rai Province from
Perspectives of Local and Non- Local People. Thesis Graduate School, Chiang Mai University.
Upayokin, P. (2004). Public Participation Mechanism Project for the
Establishment of Border Economic Zone in Chiang Rai Province. Chiang Rai: Mae Fah Luang University.
Wongchai, S. Founder of Lue Lai Kam Museum. Interview, 19 March 2017.