พัฒนาการของด่านพรมแดนและการปรับตัว ของคนชายแดนท่าลี่ จังหวัดเลย พ.ศ. 2449-2561

พัฒนาการของด่านพรมแดนและการปรับตัว ของคนชายแดนท่าลี่ จังหวัดเลย พ.ศ. 2449-2561

ผู้แต่ง

  • Nopphon Kaengjampa

คำสำคัญ:

ชายแดน; ด่านพรมแดน; คนชายแดนท่าลี่

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่ออธิบายพัฒนาการของด่านพรมแดนและการปรับตัวของผู้คนชายแดน ท่าลี่ จังหวัดเลยในช่วงปี พ.ศ.2449-2561การศึกษาใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มจากประชาชนในพื้นที่ จำนวน 42 คน ควบคู่กับข้อมูลจากเอกสารราชการ ผังเมืองและแผนพัฒนาชุมชน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ ประเด็นการสนทนากลุ่ม และแผนที่ชุมชน วิเคราะห์ประเมินค่าข้อมูลโดยวิพากษวิธีทางประวัติศาสตร์ และนำเสนอรายงานการศึกษาในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าด่านพรมแดนท่าลี่ จังหวัดเลย มีพัฒนาการความเปลี่ยนแปลงสำคัญใน 3 ช่วงเวลา ได้แก่ การเกิดขึ้นของพรมแดนจากการปักปันเขตแดนระหว่างสยามกับฝรั่งเศสในปี พ.ศ.2449 การเปลี่ยนแปลงการปกครองของ สปป.ลาวในปี พ.ศ.2518 และการเปลี่ยนแปลงจุดผ่านแดนในปี พ.ศ.2547 โดยด่านพรมแดนส่งผลให้ชุมชนซึ่งเป็นที่ตั้งกลายเป็นพื้นที่ซึ่งมีพลวัตทางเศรษฐกิจและสังคม ผู้คนชายแดนปรับตัวต่อความเปลี่ยนแปลงโดยเป็นแรงงาน ผู้ประกอบการค้าปลีกและการขนส่ง ลงทุนธุรกิจบริการที่พัก รวมถึงขับเน้นความเป็นชายแดนให้ชุมชนมีความสำคัญในกระแสการพัฒนาชายแดน

 

คำสำคัญ: ชายแดน; ด่านพรมแดน; คนชายแดนท่าลี่

References

เอกสารอ้างอิง

กฎกระทรวงกำหนดด่านศุลกากรและด่านพรมแดน. (2560,13 พฤศจิกายน).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 ตอนที่ 118 ก.หน้า1-30.
กฎกระทรวงให้บังคับใช้ผังเมืองรวมจังหวัดเลย พ.ศ.2558. (2558, 8 กรกฎาคม).
ราชกิจจานุเบกษา.เล่มที่132 ตอนที่ 59 ก.หน้า1-12
กรมศิลปากร. (2545). นิทานเรื่องขุนบรมราชา พงศาวดารเมืองลานช้าง.ประชุม
พงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 9.กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
กรมศิลปากร.(2529). จารึกในประเทศไทยเล่ม 5. กรุงเทพฯ: หอสมุดแห่งชาติ
กรมศิลปากร.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2554). ประมวลสนธิสัญญา อนุสัญญา ความตกลง บันทึก
ความเข้าใจ และแผนที่ระหว่างสยามประเทศไทยกับประเทศอาเซียนเพื่อนบ้าน: กัมพูชา ลาว พม่า มาเลเซีย.กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์.
ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์ และ บัญชา พุฒิวนากุล.(2556). ผลกระทบของการพัฒนาเส้นทาง
ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตกที่มีต่อประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมุกดาหาร. Proceedingsการประชุมทางวิชาการ “นเรศวรวิจัย” ครั้งที่ 9. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ด่านศุลกากรท่าลี่. ( 2562, 30 มิถุนายน). สถิตินำเข้า-ส่งออก.สืบค้นจาก
http://thali.customs.go.th
ธงชัย วินิจจะกูล. (2556). กำเนิดสยามจากแผนที่: ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อ่าน.
นันทิดา พวงทอง (2547, 8 พฤศจิกายน). สะพานมิตรภาพแม่น้ำเหือง ประตูสู่
เศรษฐกิจยั่งยืนไทยลาว. คมชัดลึก. น.14
ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการเปิดจุดผ่านแดนถาวรด้านอำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย.
(2536, 12 มีนาคม). ราชกิจานุเบกษา. เล่มที่110 ตอนที่ 29
ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการเปิดจุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพข้ามแม่น้ำ
เหืองไทย-ลาว บ้านนากระเซ็ง ตำบลอาฮี อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย.(2547,29 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่121.ตอนพิเศษที่122ง.หน้า18.

ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี.(2545). ข้ามพรมแดนกับคำถามเรื่องอัตลักษณ์วัฒนธรรม
พื้นที่และความเป็นชาติ. สังคมศาสตร์,15 (1),1-16
ยศ สันตสมบัติ. (2551). อำนาจ พื้นที่ และอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ : การเมือง
วัฒนธรรมของรัฐชาติในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
ยศ สันตสมบัติ. (2555). ชนชายแดนกับการก้าวข้ามพรมแดน. เชียงใหม่ : ศูนย์ศึกษา
ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิศรุต รัชนกุล และณัฐวุฒิ ปรียวนิตย์. (2557). การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
ของชุมชนเมืองชายแดน อันเนื่องมาจากสะพานมิตรภาพไทยลาว เมืองนครพนม. เมืองและสภาพแวดล้อม. 5(4),39-54
สงวน โชติรัตน์.(2515).ประชุมตำนานล้านนาไทย. กรุงเทพฯ: ป.ทิศนาคการพิมพ์.
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.( 2562, 30 มิถุนายน). นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดน. สืบค้นจากhttp://www.nesdb.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?filename=
esdps&nid=6211.
แอมอนิเย,เอเจียน.(2539). บันทึกการเดินทางในลาว ภาคหนึ่ง พ.ศ.2438. เชียงใหม่:
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Baud,M.,& Van Schendel,W. (1997). Toward a Comparative History of
Borderlands. Journal of World History. 8(2), 211-242
Sangkhamanee, J. (2006). Border Riverscape: Negotiating Space
and Identity Construction of the Long-distance River Traders Under the Mekong Subregional Trade Regime. (Master’thesis). Chiang Mai University, Chiang Mai.
Walker, A.(1999). The Legend of the Golden Boat : Regulation, Trade
and Traders in the Borderlands of Laos, Thailand, China, and Burma . Honolulu : University of Hawaii Press.

การสัมภาษณ์
จำเนียร เทพน้อย. อส.ด่านพรมแดนบ้านนากระเซ็ง. (2561, 22 มิถุนายน). สัมภาษณ์
นัย ภาจำรงค์.ผู้อาวุโสในชุมชนบ้านปากห้วย(2562, 22 มิถุนายน). สัมภาษณ์
นิด ราชวงษา.อส.ประจำจุดผ่อนปรนบ้านนากระเซ็ง. (2562, 7 มิถุนายน). สัมภาษณ์
บุญมา อุ่นมา.ผู้อาวุโสในชุมชนบ้านนากระเซ็ง. (2562,6 มิถุนายน). สัมภาษณ์
ปรีชา อุ่นมา.ผู้นำชุมชนบ้านนากระเซ็ง. (2562, 22 มิถุนายน). สัมภาษณ์
พระครูสุมธิวุฒิคุณ. เจ้าอาวาสวัดบ้านนากระเซ็ง .(2562, 7 มิถุนายน). สัมภาษณ์
พาด จันทร์พานิช.สามล้อเครื่องด่านพรมแดนบ้านนากระเซ็ง (2561, 22 มิถุนายน).
สัมภาษณ์
ยุทธจักร ปัญญาคำ.ชุดปฏิบัติการทหารพรานบ้านนากระเซ็ง.(2562, 7 มิถุนายน).
สัมภาษณ์
สงกราน จำรูญศิริ.ผู้นำชุมชนบ้านปากห้วย. (2562, 22มิถุนายน). สัมภาษณ์

Translated Thai References

Announcement of the Ministry of Interior, the Opening of Hueng River
Thai-Laos Friendship Bridge at Nakraseng Village Arhee Subdistrict Thali District Loei Province. (2004, September 29). Ratchakitchanubeksa.Vol 121.Part 122Ng.p18.
Announcement of the Ministry of Interior, the Opening of the Border
Checkpoint in Tali District Loei Province. (1993, March 12). Ratchakitchanubeksa. Vol 110.Part 29.p7.
Aymonier,E. (1996).Voyage dans Le Loas Tome Premier 1985.
Chiangmai: Social Research Institute, Chiangmai University.
Chotirat,S.(1972). Myths of Lanna Thai. Bangkok: P.Tisanak Printing.
Fine Art Department. (1986). Inscription in Thailand Vol 5. Bangkok:
National Library of Thailand, Fine Art Department.
Fine Art Department. (2002). The Story of Khun Borom: Lan Xang
Chronicle. The Chronicle of Royal Golden Jubilee Edition Vol. 9. Bangkok: Fine Art Department.
Kasetsiri, C. (2001). Collected Treaties, Conventions, Agreement,
Memorandums of Understanding and Maps Between Siam, Cambodia, Laos, Burma, Malaysia. Bangkok:
Social Science and Humanities Textbooks Foundation.
Laungaramsri,P. (2002). Border Crossings and the Question of Identities,
Culture, Space and Nation-ness. Journal of Social Science, 15 (1),1-16.
Ministerial Regulations, the Enforcement of Loei City Plan,2015.
(2015, July 8). Ratchakitchanubeksa. Vol 132.Part 59K.pp1-12.
Ministerial Regulations, the Customs and Border checkpoints Regulations.
(2017, November 29). Ratchakitchanubeksa. Vol 134.Part 118K.pp1-30.
Office of the National Economic and Social Development Council. (2019,
June 30). Definition of Term Related to Border Trade. From http://www.nesdb.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?filename=esdps&nid=6211.
Puangthong, N. (2004, November 8 ). Hueng River Friendship Bridge:
Gateway to the Sustainable Economy of Thai, Laos. Komchadluek.
Ratchanagool ,V.and N.(2014). Preyawanit, A Study of Physical
Transformation of a Border City Impacted by the Thai-Laos Friendship Bridge Project, Nakorn Panom City. City and Environment. 5(4),39-54.
Santasombat, Y. (2012). Border People and Border Crossing. Chiangmai:
Biodiversity and Indigenous Knowledge for Sustainable Development Centre, Faculty of Social Science, Chiangmai University.
Santasombat,Y. (2008). Power Space and the Identities of Ethnics:
Cultural Politics of Nation-State in Thailand. Bangkok: Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre.
Tangpathomwong, T. and Putwanakul, B. (2013). The Impact of
Development East-West Economic Corridor on People in Mukdahan Municipality. Proceeding of The7th Naresuan Research Conference. Phitsanulok : Naresuan University.
Thali Customs House. (2019, June 30). Import -Export Data.
http://thali.customs.go.th
Winichakul,T.(2013). Siam Mapped: A History of the Geo-Body of a
Nation. Bangkok: Read Prees.

Interview
Jamroonsiri,S. Community Leader. (2019, June 22).Interview.
Jantapanich, P. Tricycle Driver in Nakraseng Border Checkpoint.(2019,
June, 22). Interview.
Pajamnong, N. Elderly People in Pakhoy Village. (2019, June 22).
Interview.
Panyakum,Y. Ranger Forces Company 2103, Nakraseng Village. (2019,
June,7). Interview.
Rachvongsa, N. Volunteer Defense Corps in Nakraseng Border Checkpoint.
(2019, June, 7). Interview.
Sumthividhi, Phrakhu. The Abbot of Nakraseng Temple. (2019, June,7).
Interview.
Teonoi, J. Volunteer Defense Corps in Nakraseng Border Checkpoint.
(2019, June,22). Interview.
Unma,B. Elderly People in Nakraseng Village. (2019, June 6). Interview.
Unma,P. Nakraseng Community Leader. (2019, June 22).Interview

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2019-12-27

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)