การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะ ขีดความสามารถในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน ตำแหน่งประเภทสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหิดล
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะ ขีดความสามารถในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน ตำแหน่งประเภทสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหิดล
คำสำคัญ:
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์; สมรรถนะ; มหาวิทยาลัยมหิดลบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ (2) ระดับสมรรถนะขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน (3) เปรียบเทียบสมรรถนะขีดความสามารถในการปฏิบัติงานจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (4) ศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งประเภทสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 362 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ทดสอบค่าเอฟ (F-test) และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก (2) สมรรถนะขีดความสามารถในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก (3) ผู้ปฏิบัติงานที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสมรรถนะขีดความสามารถในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน และ (4) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์มีอิทธิพลต่อสมรรถนะขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (R) เท่ากับ 0.81 ค่าประสิทธิภาพการทำนาย (R2) เท่ากับ 0.65 สามารถทำนายสมรรถนะขีดความสามารถในการปฏิบัติงานได้ร้อยละ 65.00 มีความคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ ± 0.20 และมีค่าคงที่ของสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ เท่ากับ 0.96
คำสำคัญ : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์; สมรรถนะ; มหาวิทยาลัยมหิดล
Downloads
References
กฤษณสรรค์ สุขสาร. (2555). ความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานต่อการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ของกรมสรรพากร. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เกรียงไกรยศ พันธุ์ไทย. (2554). กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงบูรณาการ :
กุญแจสู่ความเป็นเลิศ. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์. (กรกฎาคม – กันยายน 2554)
ของขวัญณภิส รัชตะวรรณ และจินดาลักษณ์ วัฒนสินธุ์. (2562). การธำรงรักษา
บุคลากรที่มีศักยภาพสูงของโรงเรียนแพทย์ใหม่ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารการบริหารปกครอง, 8 (1): 429 – 453.
โชติชวัล ฟูกิจกาญจน์. (2556). กระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์.
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 4 (1)
บดี ตรีสุคนธ์. (2562). การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร. เอกสารประกอบการ
บรรยาย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประไพทิพย์ ลือพงษ์. (2555). การพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีสมรรถนะความสามารถใน
การแข่งขัน. วารสารนักบริหาร, 32 (4).
ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ์. (2541). การออกแบบการวิจัย.
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พิชิต เทพวรรณ์. (2554). การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ :
ซีเอ็ดยูเคชั่น.
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2562). ค่านิยมองค์การ. วันที่ค้นข้อมูล 31 มกราคม พ.ศ.
2562 จาก https://op.mahidol.ac.th/hr/mahidol-corevalues/
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2561). สารจากอธิการบดี. สืบค้นวันที่ 28 มกราคม พ.ศ.
2562 จาก http://mahidol.ac.th.
วรารัตน์ เขียวไพรี. (2551). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
วิเชียร วิทยอุดม. (2553). ภาวะผู้นำ. นนทบุรี : รวมสาส์น.
ศรัญญา มูลจันทร์. (2557). ผลกระทบของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
ที่มีต่อคุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต : มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยสารคาม.
สไบทิพย์ มงคลนิมิตร์. (2554). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านการบริการของ
โรงแรมแมนดารินโอเรียนเต็ล กรุงเทพฯ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2552). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สมาน รังสิโยกฤษฎ์. (2545). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบริหารบุคคล. พิมพ์ครั้งที่ 18.
กรุงเทพฯ : สวัสดิการสำนักงาน ก.พ.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนัก
นายกรัฐมนตรี. (2559). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี.
เสาวรัตน์ บุญวงศ์ และศุภวัฒนา วงศ์ธนวสุ. (2556). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เชิงกลยุทธ์ของเทศบาลตำบลบางเรียงอำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อริสา สำรอง. (2552). กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อการพัฒนาองค์การ.
วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. 5 (1).
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2551). กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ :
เอช อาร์ เซ็นเตอร์.
AbuKhalifeh, A., A. Som and A, Albattat. (2013). Strategic Human
Resource Development in Hospitality Crisis Management : A Conceptual Framework for Food and Beverage Departments. International Journal of Business Administration.
Alagaraja, M. (2013). HRD and HRM Perspectives on Organizational
Performance A Review of Literature. Human Resource Development Review.
Cronbach, Lee J. 1984. Essential of Psychological Testing. 2nd ed.,
New York : Harper and Row.
Yamane. (1967). Taro Statistic : An Introductory Analysis. New York:
Harper &row.
Yorks, L. and J. Barto. (2013). Invited Reaction : The Strategic Value of
HRD in Lean Strategy Implenentation. Human Resource Development Ouarterty.
Translated Thai References
Boonwong, S., and Wongthanawasu, S. (2013). Strategic Human
Resources Development of Bang Riang Subdistrict Municipality, Khuan Niang District Songkhla. Master’s thesis of Public Administration. Khon Kaen : Khon Kaen University.
Fukitkarn, C. (2013). Strategic Human Resource Development Process.
Journal of Humanities and Social Sciences, 4 (1)
Keawpairee, V. (2008). Human Resource Development in
Organization. Bangkok : Dhonburi Rajabhat University.
Luephong, P. (2012). Human capital development for competency and
competency. Executive Journal, 32(4).
Mahidol University. (2018). Message from the President. (Online),
Retrieved on http://mahidol.ac.th. (Accessed when 28 January 2019).
Mongkolnimirt, S. (2011). Service Human Resource Development at
Mandarin Oriental, Bangkok. Master’s thesis of Arts. Bangkok : Silpakorn University.
Moonchan, S. (2014). Impact of Strategic Human Resource
Development on Work Quality of Practitioners, Maha Sarakham University. Master’s thesis of Business Administration. Maha Sarakham : Maha Sarakham University.
Mahidol University. (2019). Organization values. (Online), Retrieved
on https://op.mahidol.ac.th/hr/mahidol-corevalues/. (Accessed when 31 January 2019).
Office of the National Economic and Social Development Council,
Office of the Prime Minister. (2016). Summary of the Twelfth National Economic and Social Development Plan 2017-2021. Bangkok : Office of the Prime Minister.
Phanthai, K. (2011). Integrated human resource development
strategies: the key to excellence. NIDA Development Journal. July – September 2011. Bangkok: National Institute of Development Administration.
Poowittayaphan, A. (2008). Human Resource Development Strategy.
Bangkok : HR Center.
Rangsiyokrit, S. (2002). General Knowledge About Personnel
Management. 18th ed. Bangkok : Welfare of Office of the Civil Service Commission
Ratchatawan, K. and Vadhanasindhu, C. (2019). Retention of Talented
Personnel in the New Medical Schools in Northeastern Thailand, Governance Journal, 8 (1): 429 – 453.
Samrong, A. (2009). Human resource development strategies for
organization development. Human Resource Development Journal, 5 (1).
Suksarn, K. (2012). Workers' Opinions on Human Resource
Development of the Revenue Department. Master’s thesis of Public Administration. Nonthaburi : Sukhothai Thammathirat Open University.
Tayriuakham, S. (2009). Research Methodology for Humanities and
Social Sciences. 3rd ed. Maha Sarakham : Maha Sarakham University.
Theppawan. P, (2011). Strategic Human Resource Management.
Bangkok : SE-EDUCATION.
Treesukhon, B. (2019) Personnel competency development,
Handout. Bangkok : Chulalongkorn University.
Trimongkhonkul, P., and Chattraporn, S. (1998). Research design.
Bangkok: Kasetsart University.
Wittaya-udom, V. (2010). Leadership. Nonthaburi: Ruamsarn.