ผลกระทบจากนโยบายทวงคืนผืนป่า ที่มีต่อชาวบ้าน ในภาคอีสาน : กรณีศึกษาในจังหวัดสกลนคร

ผลกระทบจากนโยบายทวงคืนผืนป่า ที่มีต่อชาวบ้าน ในภาคอีสาน : กรณีศึกษาในจังหวัดสกลนคร

ผู้แต่ง

  • Phumin Phalusuk
  • Alongkorn Akkasang

คำสำคัญ:

การกีดกัน; คุณภาพชีวิต; นโยบายทวงคืนผืนป่า

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีความมุ่งหมาย (1) เพื่อศึกษาสภาวะการกีดกัน ที่กีดกันชาวบ้านออกจากที่ทำกินของตนเอง โดยการศึกษาผ่านอำนาจในการกีดกัน 4 แบบ คือ อำนาจในทางกฎหมาย อำนาจในการใช้กำลัง อำนาจในทางตลาด และอำนาจในการสร้างความชอบธรรม (2) เพื่อศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่ ทั้งก่อนและหลังการประกาศนโยบายทวงคืนผืนป่าของรัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ผ่านการศึกษาในรูปแบบวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม ที่มีกลุ่มเป้าหมายในการศึกษาการทำวิจัยครั้งนี้คือประชาชนกลุ่มผู้ที่ได้รับผลกระทบในชุมชนบ้านจัดระเบียบที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายทวงคืนผืนป่า ที่มีช่วงเวลาในการศึกษาคือช่วงที่รัฐบาลประกาศนโยบายทวงคืนผืนป่าถึงปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาวะการใช้อำนาจกีดกันชาวบ้านออกจากที่ดินทำกินของตนเองทั้ง 4 แบบ นั้นพบว่า ก) การกีดกันโดยใช้กฎหมาย ข) การกีดกันโดยใช้กำลัง มีการข่มขู่ กดดัน ค) การกีดกันโดยตลาด ง) การสร้างความชอบธรรมโดยเจ้าหน้าที่รัฐ และ (2) ผลกระทบที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับเรื่องคุณภาพชีวิตของชาวบ้านในช่วงก่อนและหลังการประกาศนโยบายทวงคืนผืนป่า ได้แก่ ก) ไม่มีความสุขในการทำงานหลังการประกาศนโยบายทวงคืนผืนป่า  ข) การแบ่งฝักแบ่งฝ่ายหลังเกิดข้อพิพาทเรื่องที่ดินในพื้นที่  ค) ไม่มีสถานภาพทางการเงินที่ดี ต้องเป็นหนี้สิน เพื่อกู้เงินและขายทรัพย์สินบางส่วนในการสู้คดี  ง) การมีสุขภาพที่ดี แข็งแรง สมบูรณ์ เกิดปัญหาตามมาสุขภาพชาวบ้านย่ำแย่ลงหลังประกาศนโยบายทวงคืนผืนป่าและชาวบ้านถูกดำเนินคดี

คำสำคัญ : การกีดกัน; คุณภาพชีวิต; นโยบายทวงคืนผืนป่า

 

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง

กรมป่าไม้. (2535). พระราชบัญญัติสวนป่า พ.ศ. 2535. (ออนไลน์) สืบค้นจาก
http://www.forest.go.th เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2562.
กรมป่าไม้. (2557). คําสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๖๔/๒๕๕๗ เรื่อง การ
ปราบปรามและหยุดยั้งการบุกรุกทําลายทรัพยากรป่าไม้. (ออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.forest.go.th เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2562.
กรมป่าไม้. (2557). คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 66/2557 เรื่อง เพิ่มเติม
หน่วยงานสำหรับการปราบปราม หยุดยั้งการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าไม้ และนโยบายการปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวในสภาวการณ์ปัจจุบัน. (ออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.forest.go.th เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2562.
คณะกรรมการประสานงานองค์กรเอกชนพัฒนาชนบท. (2558). ปฏิบัติการ “ยึด” คืน
ผืนป่าปัญหาซับซ้อนกว่าที่คิด. (ออนไลน์). สืบค้นจาก https://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/ ThaiHealth2016/thai2016_17.pdf เข้าถึงเมื่อ15 พฤษภาคม 2562.
เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง. (2535). วิวัฒนาการของการบุกเบิกที่ดินทำกินในเขตป่า.
กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.
ณัฐกานต์ อัครพงศ์พิศักดิ์ (2559). วาระเขียว-คาร์บอนต่ำ และมโนทัศน์ใหม่สำหรับ
ศึกษาการเมืองเรื่องที่ดินในภาคเกษตร. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 12(2), 163-186.
พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484. (2484, ตุลาคม 13). ราชกิจจานุเบกษา.
เลม 58 ตอนที่ 0 ก. หนา 1417-1451.
พิชัย ผกากอง (2547). สังคมมนุษย์ Human Society. (ออนไลน์) สืบค้นจาก
http://www.udru.ac.th เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2562.
มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด. (2558). ปาฐกถา 100 ปี ป๊วย อึ้งภากรณ์: สิ่งแวดล้อมไทยและ
การกระจายอำนาจ. (ออนไลน์) สืบค้นข้อมูลจาก https://www.youtube.com/watch?v=HovFUxw4yJk เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2562.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2549). ความชอบธรรมทางการเมือง (Political Legitimacy) ของ
ผู้ใช้อำนาจรัฐ. (ออนไลน์) สืบค้นจาก https://mgronline.com/daily/detail/9490000028434 เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2562.
วัลลภา เชยบัวแก้ว. (2560). กรอบแนวคิดคุณภาพชีวิต. (ออนไลน์) สืบค้นจาก
http://www2.tsu.ac.th/ org/lic/uploads/images/life.docx เข้าถึงเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2562.
สุคนธ์ เจียสกุล. (2554). เมืองหน้าอยู่เป้าหมายที่ต้องไปให้ถึง. (ออนไลน์). สืบค้นจาก
http://advisor. anamai.moph.go.th เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2562.
อภิวัฒน์ รัตนวราหะ. (2556). ความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึง
ทรัพยากรและบริหารพื้นฐานของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการวางเเผนภาคเเละเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัจฉรา หล่อตระกูล. (2558). เงิน ความหมายและความสำคัญ. วารสารราชภัฏกรุงเก่า
, 2(1), 65-74.

Translated Thai References

Akarapongpisak, N. (2016). The Global Green and Low-carbon Agenda and
New Concepts for Studies of Agrarian Politics Concerning Land. Journal of Mekong Societies, 12(2), 163-186.
Cherybaukaw, W. (2017). Conceptual Framework of Quality of Life.
(Online). Available from: http://www2.tsu.ac.th/org/lic/uploads/images/life.docx (accessed Date of Access 15 May 2019).
Chiasakun, S. (2011). Livable city is the Goal that must be Reached.
(Online). Available from: http://advisor. anamai.moph.go.th (accessed Date of Access 15 May 2019).
Dhiravegin, L. (2006). Authority and Political Legitimacy. (Online).
Available from: http:// mgronline.com/daily/detail/9490000028434 (accessed Date of Access 15 May 2019).
Forest Act, B.E. 2484. (1941, October 13). Royal Thai Government
Gazette, Rule Number 58 Selection Number 0 A. pp. 1417-1451.
Kaosa-ard, M. (2015). 100th anniversary of Puey Ungphakorn: Thai
Environment and Decentralization. (Online). Available from: https://www.youtube.com/watch?v=Hov FUxw4yJk (accessed Date of Access 15 May 2019).
Lortakul, A. (2015). Money: Meaning and Importance. ARU Research
Journal, 2(1), 65-74.
Phakakong, P. (2004). Human Society. (Online). Available from:
http://www.udru.ac.th (accessed Date of Access 15 May 2019).
Pinthong, J. (1992). The Evolution of Land Reclamation in the Forest.
Bangkok: Local Development Institute.
Ratanawaraha, A. (2013). Inequality and Unfairness in access to
Resources and basic Administration in Thailand. Bangkok: Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University.
Royal Forest Department. (1992). Forest Plantation Act, B.E. 2535.
(Online). Available from: http://www.forest.go.th (accessed Date of Access 15 May 2019).
Royal Forest Department. (2014). The National Council for Peace and
Order No. 66/2557 Entitle Addition of Government Agencies for Suppression and Stop the Encroachment and Destruction of Forest Resources and Interim Policies on Practices in the Current Situation. (Online). Available from: http://www.forest.go.th (accessed Date of Access 15 May 2019).
Royal Forest Department. (2014). The National Council for Peace and
Order No. 64/2557 Entitled Suppression and Stop the Encroachment and Destruction of Forest Resources. (Online). Available from: http://www.forest.go.th (accessed Date of Access 15 May 2019).
The Coordinating Committee of Non-Governmental Organization for Rural
Development. (2015). The Practices “Resseiser” Forest Reclamation is the Problem is more Complicated than Expected. (Online). Available from: https://www.hiso.or.th/hiso/ picture/reportHealth/ ThaiHealth2016/thai2016_17.pdf (accessed Date of Access 15 May 2019).

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2019-12-27