ปัญหาทางกฎหมายต่อการบริหารจัดการของ มูลนิธิในประเทศไทย

ปัญหาทางกฎหมายต่อการบริหารจัดการของ มูลนิธิในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • Nattawan Rujinaronk
  • Prapin Nuchpiam

คำสำคัญ:

มูลนิธิ; ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์; การตรวจสอบในมูลนิธิ

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสารโดยการรวบรวมข้อมูลจากการค้นคว้าเอกสาร ตำราวิชาการในทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย ทั้งในส่วนของต่างประเทศและในประเทศ ผู้เขียนยังได้รวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์จากการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ นายทะเบียนของมูลนิธิ กรรมการของมูลนิธิ และผู้บริจาค เพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจริง โดยจากการศึกษาแล้วพบว่าปัญหาของมูลนิธิในประเทศไทยที่เกิดขึ้นบางกรณีเกิดจากการที่กฎหมายในปัจจุบันยังไม่สามารถครอบคลุมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นได้ โดยเกิดขึ้นจากการใช้ช่องว่างทางกฎหมายเพื่อทำการทุจริตในมูลนิธิ รวมถึงหน่วยงานที่มีอำนาจในการตรวจสอบมูลนิธิของทั้งประเทศอังกฤษและสาธารณรัฐสิงคโปร์นั้นปรากฎว่ามีกฎหมายที่ค่อนข้างชัดเจน ผู้วิจัยจึงเสนอแนวทางไว้ 3 ประการ (1)กำหนดวัตถุประสงค์ของมูลนิธิไว้อย่างชัดเจน (2) แก้ไขอำนาจหน้าที่และความรับผิดของคณะกรรมการมูลนิธิโดยเพิ่มเติมในส่วนความรับผิดของคณะกรรมการของมูลนิธิต่อมูลนิธิ (3) ให้มีคณะกรรมาธิการเป็นหน่วยงานที่เข้ามาดูแลและตรวจสอบมูลนิธิโดยเฉพาะ โดยให้ผู้ตรวจสอบมีความเชี่ยวชาญในเรื่องของมูลนิธิโดยตรงเพื่อให้การตรวจสอบเป็นไปโดยเคร่งครัดเพื่อผลประโยชน์ของส่วนรวมเนื่องจากมูลนิธิเป็นองค์กรที่ทำเพื่อประโยชน์สาธารณะ

คำสำคัญ: มูลนิธิ; ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์; การตรวจสอบในมูลนิธิ

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงมหาดไทย. (2554). คู่มือสมาคมและมูลนิธิ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ : กรมการปกครอง.
กระทรวงมหาดไทย. (2556). คู่มือการดำเนินการของมูลนิธิและสมาคม. กรุงเทพฯ:
กรมการปกครอง.
กิ่งแก้ว กิ่งแก้ว ศรีสาลีกุลรัตน์. (มปป.). สรุปหลักการ แนวคิด เกี่ยวกับการบริหาร
หลักการธรรมาภิบาลในสถานศึกษา.(online). สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/206242,เข้าถึง(https://www.gotoknow.org/posts/206242) เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561.
ธกานต์ ชาติวงค์. (2560). ทฤษฎีที่ใช้อธิบายงานวิจัยทางบัญชี: จากอดีตถึงอนาคต.
วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ, 6 (ฉบับที่2) :203-212.
ทิพาวดี เมฆสวรรค์. (2543). ธรรมาภิบาลกับราชการไทย, เอกสารประกอบการ
สัมมนาเรื่องความสําเร็จและบทเรียนในการสร้างธรรมาภิบาลในส่วนราชการ. นนทบุรี : สํานักงานข้าราชการพลเรือน.
ธนวัตน์ เนติโพธิ์. (2556). กฎหมายแพ่ง 1: บุคคล นิติกรรม สัญญา. ครั้งที่ 6.
กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นวพร เรืองสกุล. (2545). Corporate governance บรรษัทภิบาล เรื่องที่นักลงทุน
และกรรมการต้องรู้. กรุงเทพฯ : บริษัท มาสเตอร์คีย์ จำกัด.
ปาณัสม์ชฎา ศุภจักรวัฒนา. (2554). องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร: องค์ความรู้
รัฐประศาสนศาสตร์ที่ถูกลืมในไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น,4 (2): 51-60.
สมิต สัชฌุกร. (2554). การส่งเสริมธรรมาภิบาลในสังคมไทย. สำนักงานผู้ตรวจ
การแผ่นดิน,4 (2): 56 - 61.
อุดมศักดิ์ เย็นใส. (2554). มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมกำกับดูแลและ
ส่งเสริมมูลนิธิที่ดำเนินกิจการด้านสาธารณะประโยชน์.(online) สืบค้นจาก https://doi.org/10.14458/DPU.the.2011.36, เข้าถึง(https://doi.org/10.14458/DPU.the.2011.36) เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2561.
Anheier, Helmut K., and Avner Ben-Ner. (2003) The Study of the
Nonprofit Enterprise: Theories and Approaches. New York: Kluwer Academic / Plenum Publishers.
Elaine Seow E-Lin.(n.d.).Charitable Organisations in
Singapore:Overview.(online) Retrieved from http://uk.practicallaw.thomsonreuters.com/3-632-9693?transitionType=Default&contextData=(sc.Default)&firstPage=true&comp=pluk&bhcp=1, September 5,2018.
Freeman, R (1983) “Strategic management:a stakeholder
Approach.”Advancens in Strategic Managemant.
GOV.UK. Charities and Tax.(online) Retrieved from
https://www.gov.uk/charities-and-tax.September 5,2018.
Harding, M. (2014). Charity law in overview. Cambridge: Cambridge:
Cambridge University Press.(online) Retrieved from https://doi.org/10.1017/CBO9781139136358.002.September 5,2018.
Korslin, K. (n.d.). Non-Distribution Constraint. (online) Retrieved from
https://www.learningtogive.org/resources/non-distribution- constraint.December 3,2018.
Luckert, K. (n.d.).Nonprofit Organizations (Definition and Examples).
(online) Retrieved from https://www.learningtogive.org/resources/nonprofit-organizations-definition-and-examples.December 3,2018.
Lohmann, Roger A.(2007).Charity, Philanthropy, Public Service, or
Enterprise:What are the big questions of Nonprofit Management today?. Public Administration Review. 67 (3),437-444.

Translated Thai References

Chatiwong, T.(2017) . Accounting Theory Research: From the Past to the
Future. Journal of Business Administration,6 (2) : 203-212.
Meksawan, T. (2000). Good governance with Thai government,
Document for Seminar on Success and lessons in Creating Good Governance in Government Agencies. Nonthaburi: Office of the Civil Service.
Ministry of the Interior.(2011). Association and Foundation Handbook
Honor His Majesty the King On the Occasion of the Auspicious Occasion of the 7th Birthday Anniversary, 5 December 2011.Bangkok: Department of the Interior.
Ministry of the Interior. (2013). Foundation and Association Operations
Guide. Bangkok: Department of the Interior.
Naetipho, T. (2013). Civil 1: Legal Person, Contract Act .6th.Bangkok:
Sukhothai Thammathirat Open University.
Ruangsakul, N. (2002). Corporate Governance. Bangkok :Masterkey
company.
Sachukorn, S. (2011). Promoting Good Governance in Thai society. Office
of the Ombudsman, 4 (2): 56-61.
Srisareekunrat, K., K.(n.d.). Summarizing the Principles of the Concept
of Administration of Good Governance Principles in Educational Institutions.(online). Retrieved from https://www.gotoknow.org/posts/206242. September 3, 2018.
Supajakwattana, P. (2011).Nonprofit Organization:P.A. Knowledge
Forgotten in Thailand. FEU Academic Review,4 (2): 51-60.
Yensai, U.(2011).Legal Measure Concerning the Control and Support
the Public Service Foundations.(online) https://doi.org/10.14458/DPU.the.2011.36.September 3,2018.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2019-12-27