มุมมองด้านสภาพการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาบุคลากรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจังหวัดชัยภูมิ

มุมมองด้านสภาพการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาบุคลากรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจังหวัดชัยภูมิ

ผู้แต่ง

  • Nitipat Pakdeejeeradit
  • Pennee Narot

คำสำคัญ:

การพัฒนาบุคลากร; เศรษฐกิจพอเพียง; องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการขับเคลื่อนนโยบายที่มีต่อการพัฒนาบุคลากร 2) ปัจจัยที่เสริมหนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาบุคลากร และ 3) นำเสนอแนวคิดในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาสู่การปฏิบัติของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) ประกอบด้วยนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 10 คน หัวหน้าส่วนราชการ/ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 30 คน  โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเห็นด้วยกับการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอมาเพียงใช้ในการปฏิบัติงานซึ่งมีหลักสำคัญคือ  การพึ่งตนเอง การรู้จักความพอดี ความพอเพียง และพอใจในตัวเอง ซึ่งทำให้ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถทำงานในองค์กรด้วยความราบรื่นไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ปัจจัยที่เสริมหนุนการปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำแผนงานติดตามการปฎิบัติงานพร้อมยกย่องชมเชยแก่ผู้ปฏิบัติงาน ขณะเดียวกันแนวทางการขับเคลื่อนควรมีบุคลากรที่ปฏิบัติงานทางด้านเศรษฐกิจพอเพียงโดยตรงเพื่อให้การขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาบุคลากรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมและมีความต่อเนื่อง

คำสำคัญ : การพัฒนาบุคลากร; เศรษฐกิจพอเพียง; องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

References

เอกสารอ้างอิง

คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. (2548). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ออนไลน์) สืบค้นจาก https://www.greenshopcafe.com/greennews1104.html เข้าถึงเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2561
จิรวัตร์ เจียมเจริญ (2555). การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมภิบาล
ไปใช้ในการปฏิบัติงานของข้าราชการ กรมวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ราชภัฎสวนสุนันทา.
ณัฐวัฒน์ คุณนุช. (2558). การนำนโยบายด้านการประชาสัมพันธ์ไปปฏิบัติ : ศึกษา
บทบาทของนักประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : กรมประชาสัมพันธ์.
ธันวา ใจเที่ยง, ปัญญา เถาว์ชาลี และกตัญญู แก้วหานาม (2560). เศรษฐกิจพอเพียง
กับเศรษฐกิจวัฒนธรรมชุมชนและความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชุนหมู่บ้านไทย. วารสารการบริหารการปกครองฉบับพิเศษ (กันยายน 2560) : 58-82

บุญญะรักษ์ คำนวณชัย. (2552). การปฏิบัติตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ของครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎ เทพสตรี.
ภัทราวิณี กิจสนธิ์, พรรัตน์ แสดงหาญ และอธิพล เครือปอง (2556). ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิตการทำงานและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานในนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารสังคมศาสตร์, 2 (2) : 71-77
วราภรณ์ แต่งผล. (2554). การศึกษาแนวทางการดำเนินงานพัฒนาบุคลากรในด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองแม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร.
ศูนย์ราชการใสสะอาด. (2553). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (ออนไลน์) สืบค้นจาก
http://cleangov.jvnkp.net เข้าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2561สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปี 2560 – 2564 กรุงเทพฯ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สิปปภาส โรจนวสุธร และบุญสม เกษะประดิษฐ์. (2561). นวัตกรรมรากหญ้าแนว
เศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษากลุ่มคือข่ายปราชญ์อีสาน. วารสาร
การบริหารการปกครอง 7(1), 681-697
สุขุม พรมเมืองคุณ. (2552). ความรู้ ความเข้าใจและความต้องการสื่อสารสนเทศ
ด้านเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลชัยพฤกษ์ อำเภอเมือง จังหวัดเลย. เลย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
อภิชัย พันธเสน. (2560). เศรษฐกิจพอเพียง : พระอัจฉริยภาพและพระกรุณาธิคุณ
ของในหลวงรัชกาลที่ 9. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยรังสิต.
อภิชัย พันธเสน และคณะ. (2550). การสังเคราะห์งานวิจัย ข้อเขียน และบทความเ
กี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

Translated Thai References

Chaitieng, T., Thaochalee, T., and Kaewhanam, K. (2017). Sufficiency
Economy, Community Cultural Economy and Biodiversity in the Thai Village Community. Governance Journal. Special issue (September 2017) : 58-82.
Integrity Governance Center. Self-sufficiency Economy. Retrieved on
http://cleangov.jvnkp.net/ (Accessed when 20 September 2018)
Jiamchareon, J. ( 2012). Applying the Philosophy of Sufficiency
Economy and Good Governance into the Operation of Officers of Army Chemical Department. Master’s Degree thesis, Suan sunandha Rajabhat University.
Khomnuanchai, B. ( 2009). Teacher’s Practices Following the
Sufficiency Economy Theory Under Saraburi Educational
Service Area Office. Master’s degree thesis, Thepsatri Rajabhat University.
Khunnuch, N. (2015). Policy Implementation in Public Relation: Roles
of Public Relation Officers. Bangkok : Department of Public Relations.
Kitsonti, P., Sadangharn, P., and Keaupong, A., ( 2013). Self-Sufficiency
Economy and Quality of Work and Efficiency in Work
Performance of Employee in Chacheong-Saou Industrial Park. Journal of Social sciences. 2 (2) : 71-77.
Prommueangkhum,S. (2009). Knowledge, understanding, and Need in
Information Technology Concerning Self-sufficiency Economy of Community in Chai-ya-pruk-sub-district Local Administration Organization. Loei province. Loei: Loei Rajabhat University.
Puntasen, A. (2017). Self-sufficiency economy : A genius and
benevolence of King Rama IX. Prathumtani : Rungsit University.
Puntasen, A. & et. al. (2007). A Synthesis of Research Works and
Related Literatures on Sufficiency Economy. Bangkok : The National Research Council of Thailand.
Rotjanawasuthorn, S., Kesapradit, B., (2018). Grassroots Innovation
Based on the Sufficient Economy: A Case of the Networks of Local Philosophers in Thailand ‘s Northeastern. Governance Journal . 7(1) : 681-697)
The National Economic and Social Development Committee. (2016). The
National Economic and Social Development Plan 2017 – 2021. Bangkok : The National Economic and Social Development Committee.
The Sufficiency Economy Sub-Steering Committee. (2005). Self-
sufficiency Economy National Economic and Social Development Council. (Online), Retrieved on http://www.greenshopcafe.com/ greennews1104.html (Accessed when 20 November 2018)
Thngpol, W. (2011). Guidelines for Information Technology
Development of Personnel Educational Institutes under the Jurisdiction of Mae Sod Municipality, Masod District, Tak Province. Master’s Degree Dissertation, Kamphangpet Rajabhat University

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2019-12-27

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)