รูปแบบการบริหารและปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์การในศตวรรษที่ 21 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดอุทัยธานี ในมุมมองของผู้บริหาร ข้าราชการและพนักงานท้องถิ่น

ผู้แต่ง

  • เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ คณะรัฐประศานศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย สาขาวิทยบริการจังหวัดอุทัยธานี

คำสำคัญ:

รูปแบบการบริหาร, ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหาร, การเปลี่ยนแปลงองค์การในศตวรรษที่ 21

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารและปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์การในศตวรรษที่ 21 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดอุทัยธานี ในมุมมองของกลุ่มผู้บริหาร ข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น” เป็นการวิจัยแบบผสม (Mixed Research Methodology) ซึ่งผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มผู้บริหาร ข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดอุทัยธานี จำนวน 400 คน  และทำการสังเคราะห์ตัวบ่งชี้เพื่อสร้างรูปแบบ และประเมินรูปแบบโดยการสัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการทดสอบเชิงยืนยัน พบว่า รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงองค์การในศตวรรษที่ 21 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มี 4 องค์ประกอบ คือ การสร้างความตระหนักถึงความสำคัญในการเปลี่ยนแปลง การกำหนดวิสัยทัศน์ การสร้างการมีส่วนร่วม การเป็นองค์กรแห่งการเปลี่ยนแปลง และพบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารการเปลี่ยนแปลงองค์การในศตวรรษที่ 21 ด้านภาวะผู้นำ ด้านการการสื่อสาร และด้านวัฒนธรรมองค์กร มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .05

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2561). รายงานสรุปผลการประเมินประสิทธิภาพ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สถ-อปท). ประจำปี พ.ศ. 2561.
กรุงเทพมหานคร: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. (2552). การขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการ
จัดบริการสาธารณะที่ดี. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พี. เอ. ลีฟวิ่ง จำกัด.
เทศบาลตำบลโขงเจียม. (2560). การปรับตัวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในยุค
ไทยแลนด์ 4.0“ต้องปรับวัฒนธรรมองค์กรใหม่”. อุบลราชธานี:
เทศบาลตำบลโขงเจียม.
ธิดา กมลรุ่งเรือง. (2559).ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา
ไทยในเขตภาคตะวันออก, วารสารการบริหารปกครอง 5 (2): 124 - 145
วิมล ชาตะมีนา และคณะ. (2553). ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการบริหารจัดการของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, วารสารโครงการกิจกรรมการเชื่อมโยง
งานวิจัยกับภาคนโยบาย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.),
1(6).
สยามพร พันธไชย. (2561). ภาวะผู้นำท้องถิ่นในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการ
แพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 5(1), หน้า 194-212.
อรปวีณ์ ธรรมานุชิต. (2559). บทบาทของคณะผู้บริหารในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ต่อการเตรียมความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียน: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี, วารสารการบริหารปกครอง 5 (2): 179 - 197
อาทิตย์ ผดุงเดช และ วีระกุล ชายผา. (2562). การพึ่งพาตนเองทางด้านรายได้ของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง. วารสารการบริหารปกครอง 8 (1): 181 – 202.
Brandt, M. & Sommer P. (2013). The 4-by-10 ruler of change (a practical
framework for managing change). Master of Science Thesis in
the Management and Economics of Innovation Programme,
Department of Technology.
Gilley, J. W. (2009). Organizational change: Motivation, communication,
and leadership Effectiveness, Performance Improvement
Quarterly, 21(4), 75-94.
Yogesh, M. (2000). Knowledge Management and Virtual Organization.
London: Idea, Group Publishing.

Translated Thai References
Chatameena, W. and et.al. (2010). Factors for success in management of
Localgovernment organizations, Policy Research Platform
journal, the Thailand Research Fund, 1(6).
Kamonrungruang, T. (2016). Transformational Leadership of the
Administrators of Thai Higher Education in the Eastern Region, Governance Journal 5 (2): : 124 - 145
Khong Chiam Subdistrict Municipality.(2017).The adjustment of local
government organizations in the Thailand 4.0 “Corporate culture shift”. Ubon Ratchathani: Khong Chiam Subdistrict Municipality.
Local Administrative Organizations. (2018). Local Performance
Assessment (LPA) Annual Report 2019. Bangkok:
Local Administrative Organizations, Ministry of Interior.
Pattamasiriwat, D. (2009). Driving of local administrative organizations
for public Management. Bangkok: P.A. Living Co,.Ltd.
Phadungdech, A. and Chaiphar, W. (2019). Revenue Self-Riant of Local
Administrative Organizations in Mid North Eastern Provincial Cluster, Governance Journal 8 (1): 181 – 202.
Puntachai, S. (2018). Local Leadership in The 21st Century, Prae-
Wa Kalasin Journal of Kalasin University, 5(1).
Thummanuchit, O. (2016). The Roles of Executives as a Change Leader
Preparing for ASEAN Community of Department of Local Administration : the Case Study of Ubon Ratchatani Provincial Administrative Organization, Governance Journal 5 (2): 179 – 197.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-28