ทฤษฎีระบบราชการกับการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
คำสำคัญ:
ระบบราชการ, การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน, กรุงศรีอยุธยาบทคัดย่อ
ทฤษฎีระบบราชการของแมกซ์ เวเบอร์ และคนอื่น ๆ ที่เน้นถึงหลักสายการบังคับบัญชา ซึ่งหลักการนี้แมกซ์ เวเบอร์ เห็นว่าจำเป็นต้องมีเนื่องจากการบริหารองค์การขนาดใหญ่จำเป็นต้องจัดหมวดหมู่ของตำแหน่งต่าง ๆ เป็นลำดับชั้น “ข้าราชการในลำดับชั้นที่สูงทำหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการที่อยู่ในลำดับชั้นที่ต่ำรองลงมา การจัดลำดับชั้นในระบบราชการเป็นไปเพื่อเป็นหลักประกันว่า เบื้องบนจะสามารถควบคุมเบื้องล่างได้อย่างใกล้ชิด” และคำกล่าวของเฮนรี่ ฟาโยล ที่กล่าวว่า “ไม่มีมนุษย์คนไหนที่สามารถปฏิบัติตามคำสั่งจากหัวหน้าสองคนขึ้นไป”แต่เมื่อศึกษาถึงการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในสมัยกรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะตั้งแต่การปฏิรูประเบียบบริหารราชการของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถซึ่งใช้มาตลอดสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ที่ขัดแย้งกับทฤษฎีระบบราชการของหลักรัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันในรูปของการมีนายกรัฐมนตรี 2 คน คือสมุหกลาโหมและสมุหนายกทำให้เกิดการสับสนขาดความชัดเจนในการบริหารราชการแผ่นดินอย่างเหลือหลายจนต้องมีการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินใหม่ใน พ.ศ. 2435 จึงสอดคล้องกับทฤษฎีระบบราชการของสากล
Downloads
References
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2526). เจ้านายและข้าราชการกราบ
บังคมทูลความเห็นจัดการเปลี่ยนแปลงราชการแผ่นดิน ร.ศ.103 และ
พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแถลงพระบรมราชาธิบายแก้ไขการปกครองแผ่นดิน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพ :
กรมศิลปากร.
โดม ไกรปกรณ์. (2562). กรมคลัง : ฐานข้อมูลการเมืองการปกครองสถาบัน
พระปกเกล้า. (ออนไลน์) สืบค้นจาก:
http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=กรมคลัง
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2555). ประชุมพระ
นิพนธ์ สรรพความรู้. กรุงเทพ : สยามปริทัศน์.
บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และคณะ. (2562). จตุสดมภ์ : ฐานข้อมูลการเมืองการ
ปกครองสถาบันพระปกเกล้า. (ออนไลน์) สืบค้นจาก: http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=จตุสดมภ์
พิทยา บวรวัฒนา. (2558). รัฐประศาสนาศาสตร์ ทฤษฎีและแนวการศึกษา (ค.ศ.
1887 - 1970). พิมพ์ครั้งที่ 19. กรุงเทพ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ลิขิต ธีรเวคิน (2550). วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 10.
กรุงเทพ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รวี สิริอิสสระนันท์ (บรรณาธิการ). (2553). พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่นๆ. กรุงเทพ :
สำนักพิมพ์ศรีปัญญา.
วินัย พงศ์ศรีเพียร (บรรณาธิการ). 2559. อโยธยาศรีรามเทพนครบวรทวารวดี
มรดกความทรงจำแห่งสยามประเทศ เล่ม 1. กรุงเทพ : โครงการวิจัยอิสระประวัติศาสตร์ไทย.
วิลาสวงศ์ พงศะบุตร และ วุฒิชัย มูลศิลป์. (2553). สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน
เล่ม 3. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพ: โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน
โดยพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.
สมเกียรติ วันทะนะ. (2560). การสืบราชสมบัติในกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 1893 – 2310,
วารสารการบริหารปกครอง 6 (2)
สมเกียรติ วันทะนะ. (2561). พระรามในประสาทพระอินทร์, วารสารการบริหาร
ปกครอง 7 (1): 1 – 26.
อรวรรณ ทรัพย์พลอย, (บรรณาธิการ). (2552). พระราชพงศาวดาร
กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี. กรุงเทพ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลชชิ่ง.
Fayol, H. (1949). General and Industrial Management. London: Pitman.
Translated Thai References
Bowonwatthana, P. (2015). Public Administration, Theories and
Approaches (1887 – 1970). 19th. Bangkok: Chulalongkorn
University Press
Dhamrongrajanuparp, King Boromwong, Krom Phraya. (2013). A Meeting
of Knowledge Writing. Bangkok: Siam Parithat.
Dhiravekhin, L. (2007). The Evolution of Thai Politics and Government.
10th. Bangkok: Thammasart University Press.
Karawekpanth, B. and et al. (2019). Four Pillars: Database of Politics
and Government, King Prajadhipok's Institute (Online), Retrieved from: http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=จตุสดมภ์
King Rama V. (1983). The Boss and Civil Servants Paid Their Respects
to the Government to Change the Government in 1885 and His Majesty King Chulalongkorn's Speech to Amend the Government Administration. 5th. Bangkok: Fine Arts Department
Kraipakorn, D. (2019). Department of Finance: Database of Politics and
Government, King Prajadhipok's Institute (Online), Retrieved from: http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=กรมคลัง
Pongsabuth, V. and Mulsilp, V. (2010). Thai Encyclopedia for Youth
Volume III. 11th. Bangkok: Thai Encyclopedia Project for Youth By the intention of His Majesty the King
Pongsripian, W. (Editor). (2016). Ayodhaya Sriramthep Nakorn
Bowonnarawadi, The memory of Siam Country Volume I. Bangkok: Independent Research Project in Thai history.
Siriitsaranund, R. (Editor). (2010). Royal Chronicles of Ayutthaya:
Volume of Phanchanthanumat (Jerm) and other documents. Bangkok: Sripanya Press.
Subploy, O. (Editor). (2019). The Royal Chronicles of Rattanakosin
Rama I, Volume of Chaopraya Thipakornwongmahamakosathibodi. Bangkok: Ummarinthara Printing & Publishing
Wanthana, S. (2017). Royal Succession in Ayuthaya Kingdom, 1350 – 1767
AD, Governance Journal 6 (2)
Wanthana, S. (2018). God Rama in the Palace of God Intra, Governance
Journal 7 (1) : 1 - 26