ลักษณะอำนาจนิยมในกิจกรรมการรับน้องของสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคอีสาน

ผู้แต่ง

  • จิรพงศ์ มหาพจน์ ฝ่ายยานพาหนะ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
  • อลงกรณ์ อรรคแสง

คำสำคัญ:

ลักษณะอำนาจนิยม; การรับน้อง; สาขาวิชารัฐศาสตร์

บทคัดย่อ

                                                                                                                                  บทคัดย่อ

     

บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะอำนาจนิยมในกิจกรรมการรับน้องของสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคอีสาน กล่าวคือ งานศึกษาชั้นนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ผ่านการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม การสนทนากลุ่มย่อย และการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ตัวแทนศิษย์เก่าสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคอีสาน และตัวแทนนักศึกษาสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคอีสาน ผลการศึกษาพบว่า การผลิตซ้ำของการเมืองแบบเผด็จการอำนาจนิยมในกิจกรรมการรับน้องของสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคอีสาน ได้แก่ (1) การละเมิดเสรีภาพของปัจเจกบุคคล (2) ความไม่เท่าเทียม (3) การรวมศูนย์อำนาจ (4) การใช้อำนาจตามอำเภอใจที่ปราศจากเหตุผล (5) การมีพหุนิยมแบบจำกัด

คำสำคัญ : ลักษณะอำนาจนิยม; การรับน้อง; สาขาวิชารัฐศาสตร์

 

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง
สิริพรรณ นกสวน สวัสดี และคณะ. (2557) คำและแนวคิดในประชาธิปไตยสมัยใหม่ กรุงเทพฯ: มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ทแห่งประเทศไทย.
Barrington, L. W. (2015). Authoritarianism. In J. B. Holbrook (Ed.), Ethics, Science, Technology, and Engineering: A Global Resource (pp. 155-158). Farmington Hills, MI: Macmillan Reference USA. Retrieved from https://link.gale.com/apps/doc/CX 3727600068/GVRL?u=thstou&sid=GVRL&xid=a21b6ab8
Berg-Schlosser, Dirk. (2005). Authoritarianism: Overview. In Maryanne Cline Horowitz (Ed.), New Dictionary of the History of Ideas. Maryanne Cline Horowitz (pp. 172-175). Detroit, MI: Charles Scribner's Sons. Retrieved from https://link.gale.com/apps/doc/ CX3424300067/GVRL?u=thstou&sid=GVRL&xid=fb486dbd
Darity, Jr., William A. (2008). Authoritarianism. In William A. Darity, Jr (Ed.), International Encyclopedia of the Social Sciences. (pp. 213-214) Detroit, MI: Macmillan Reference USA. Retrieved from https://link.gale.com/apps/doc/CX3045300139/ GVRL?u=thstou&sid=GVRL&xid=cf575594
Linz, Juan J. (2000). Totalitarian and authoritarian. Boulder: Lynne Rienne.
Sim, Soek-Fang. (2005). Authoritarianism: East Asia. In Maryanne Cline Horowitz (Ed.), New Dictionary of the History of Ideas. (pp. 175-178). Detroit, MI: Charles Scribner's Sons. Retrieved from https://link.gale.com/apps/doc/CX3424300068/GVRL?u= thstou&sid=GVRL&xid=21f63479
Webb, Edward. (2011). Totalitarianism and Authoritarianism. In John T. Ishiyama and Marijke Breuning (Eds.), 21st Century Political Science: A Reference Handbook. (pp. 249-257). Thousand Oaks, CA: SAGE Reference. Retrieved from https://link.gale. com/apps/doc/CX1701100040/GVRL?u=thstou&sid=GVRL&xid=ab7ad2a3
การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม. (2562) กิจกรรมการรับน้องของนักศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคอีสาน.
สนทนากลุ่มย่อย. (2562) ตัวแทนนักศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคอีสาน.
การสัมภาษณ์เชิงลึก
นาย ข. (2562). สัมภาษณ์. ตัวแทนศิษย์เก่าสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคอีสาน.
นาย ค. (2562). สัมภาษณ์. ตัวแทนนักศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคอีสาน.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-27