บทบาทขององค์กรประชาสังคมต่อการพัฒนาพื้นที่ในจังหวัดตรัง

ผู้แต่ง

  • จีรนันท์ จันทร์คง
  • พิมพ์ตะวัน งามเจริญกุล
  • ภาณุพงศ์ อ่อนมาก
  • สาวิตรี ทองกอบ
  • ธนกฤต โจ้งจาบ
  • ฮาซันอักริม ดงนะเด็ง
  • อุสมาน หวังสนิ

คำสำคัญ:

องค์กรประชาสังคม, องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร, เป้าหมายเพื่อประโยชน์สาธารณะ, จังหวัดตรัง

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทขององค์กรประชาสังคมต่อการพัฒนาพื้นที่ในจังหวัดตรัง โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการค้นคว้าเอกสารและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลที่คัดเลือกด้วยวิธีการเจาะจงผู้นำและผู้ปฏิบัติงานในองค์กรประชาสังคม จำนวน 11 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาในกรณีที่เป็นข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิและวิเคราะห์แก่นสาระในกรณีข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า องค์กรประชาสังคมมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาพื้นที่ในจังหวัดตรังครอบคลุม 4 ด้าน คือ 1) ด้านการสนับสนุนผู้ด้อยโอกาสในสังคม โดยการขับเคลื่อนให้ผู้ด้อยโอกาสให้ได้รับสิทธิประโยชน์ สวัสดิการ ความช่วยเหลือและการปฏิบัติที่เหมาะสม 2) ด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการสร้างองค์ความรู้ เชื่อมโยงภาคีการทำงาน อนุรักษ์ สืบสาน พัฒนาและยกระดับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3) ด้านการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยส่งเสริมการดูแลป่าชายเลน ผืนป่าธรรมชาติ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง การเรียกร้องสิทธิในที่ดินทำกิน จัดการปัญหาขยะ รวมถึงความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ และ 4) ด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจ โดยพัฒนาการท่องเที่ยวและโรงแรม ทั้งในด้านรูปแบบกิจกรรม และคุณภาพของสินค้าบริการ งานวิจัยนี้มีข้อเสนอว่า ควรยกย่ององค์กร
ประชาสังคมที่มีผลงานโดดเด่น รวมทั้งควรส่งเสริมพัฒนาและสนับสนุนให้องค์กรประชาสังคมดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

 

คำสำคัญ องค์กรประชาสังคม, องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร, เป้าหมายเพื่อประโยชน์สาธารณะ, จังหวัดตรัง

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรรณภัทร ชิตวงศ์, ศาสตรา แก้วแพง และจิรนันท์ เศษสาวารี. (2557). “การบังคับใช้กฎหมายเพื่อการ อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา.” วารสารปาริชาติ, 27(3): 80-88.
ธีรพัฒน์ อังศุชวาล. (2557). “ประชาสังคม (Civill Society) ในมุมมองใหม่ : บทสำรวจหน้าตาและ
ตำแหน่งแห่งที่ของประชาสังคมในมุมมอง Civill Society Diamond.” วารสารการเมืองการปกครอง, 5(1): 1-29.
บงกช สุทัศน์ ณ อยุธยา. (2550). “ประชาสังคมในมิติทางสังคมและวัฒนธรรมกับแนวทางการ
พัฒนาท้องถิ่น.” สืบค้าจาก http://llacad.vru.ac.th., 19 มีนาคม 2564
พิมณิชา พรหมมานต, หทัยรัตน์ ทับพร และกรรณิการ์ สัจกุล. (2562). “คนโป๊ะ: ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการสืบ ทอดการทำประมงพื้นบ้านสมุทรสงคราม.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 39(2): 50-66.
พลเดช ปิ่นประทีบ. (2550). วิถีประชาธิปไตยพลเมือง. กรุงเทพฯ : กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์.
วัชรินทร อินทพรหม. (2562). “ขนาดตัวอยางและการสุมตัวอยางของการวิจัยเชิงคุณภาพ.”วารสารวิจัย
ราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, 14(1): 442 458
วีรบูรณ์ วิสารทสกุล. (2549). พัฒนาการประชาสังคมและชุมชนท้องถิ่นไทย. ในประมวลสาระและ
แนวการศึกษาชุดวิชาสังคมและชุมชนท้องถิ่นนนทบุรี. สาขาวิชารัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วรรณวิชนี ถนอมชาติ, อุทัย อันพิมพ์ และจำเนียร จวงตระกูล. (2563). “การนำเสนอผลการวิจัยเชิงคุณภาพ.” วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 14(4): 1-13.
สมใจ เภาด้วง, บุษบงค์ สุวรรณ, พิชามญชุ์ เลิศวัฒนาพรชัย, และสุทิศา ไพบูลย์วัฒนากิจ. (2556). การพัฒนา เครือข่ายเพื่อความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนในเขตเทศบาลนครนครปฐม. สืบค้นจาก https://publication.npru.ac.th/handle/123456789/625, 19 มีนาคม 2564
อนุสรณ์ ไชยพาน. (2560). องค์กรภาคประชาสังคม : ปฏิบัติการสร้างพื้นที่ หุ้นส่วน การพัฒนาที่ ยั่งยืน. สืบค้นจาก http://thaicivilsociety.com/stock/reportcsothai.pdf, 20 มีนาคม 2564
ฮาซันอักริม ดงนะเด็ง. (2563). ประชาสังคมและการเมืองภาคประชาชน. ตรัง:
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตตรัง.
Auwera, S. V. (2011). “Civil society action in the field of cultural heritage.” Heritage and Society, 4(1), 59-82.
Beliakova, A. O. (2019). “Role of civil society in preserving cultural heritage.” Journal of Governance and Politics, 14(2019),
El-din, R. H. (2017). Civil society plays a major role in economic development: ECPPS study. Retrieved from https://dailynewsegypt.com/2017/04/13/civil-society-plays- major-role-economic-development-ecpps-study/, May 16, 2021.
Iqbal, M. S., & Rasil, A. M. (2014). “Role of civil society in economic transformation in Malaysia.” Pakistan Journal of Commerce and Social Sciences 8(1), 201-22.
Sawhney, P., Kobayashi, M., Takahashi, M., King, P. N., & Mori, H. (2007). “Participation of civil society in management of natural resources.” International Review for Environmental Strategies, 7(1), 117-132.
Veltmeyer, H. (2008). “Civil society and local development.” Compo Grande, 9(2), 229-243.
Ziedan, S. K. (2018). “The role of civil society organizations in achieving social protection for the disabled” Journal of Sociology and Social Work, 6(1), 56-63

Translated Thai References
Angsuchawal, T. (2014) “Civil Society in a new light: Survey of feature and positions of civil society in view of the civil society diamond.” Journal of Political, 5(1), 1-29.
Chaiphan, A. (2017). Civil society organizations: Operating build space, partnership, sustainable development. Retrieved fromhttp://thaicivilsociety.com/stock/reportcsothai.pdf, March 20, 2021.
Chittawong, K., Keawphang, S., & Satsavaree, J. (2014) “Law enforcement for the conservation of biodiversity of Songkhla lake basin.” Journal of Parichart, 27(3), 80-88.
Dongnadeng, H. A. (2020). Civil society and civil movement. Trang: Prince of Songkla University.
Intaprom. W. (2019) “Sample size and sampling of qualitative research.” Phranakhon Rajabhat research journal, Humanities and Social Sciences, 14(1), 442-458.
Panteawan, P. (2013) “Basic necessities and public health conditions of people in the area of Nongsarai sub-district, Pakchong district, Nakhon Ratchasima province.” Journal of the Royal Thai Army Nurses, 14(3), 196-202.
Paoduang, S., Suwan, B., Leartwatthanapornchai, P., & Paiboonwattanakid, S.. (2013). Network development for the strength of the community economy in Nakhon Pathom Municipality. Retrieved from https://publication.npru.ac.th/handle/123456789/625, March 19, 2021.
Pinprateep, P. (2007). Citizen democracy. Bangkok: Ministry of Social Development and Human Security.
Prommanot, P., Tubporn, H., Sachakul, K. (2019) “Khonpoh: Local wisdom and inheritance of local fisheries in Samut Songkhram.” Journal of Silpakorn University, 39(2), 50-66.
Sutat Na Ayutthaya, B. (2007). Civil society in a social dimension and culture with local development guidelines. Retrieved from http://llacad.vru.ac.th, March 19, 2021.
Tanomchart, W., Unphim, U., Joungtrakul, J. (2020) “Presentation of qualitative research results.” Journal of Community Research, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, 14(4), 1-13.
Wisartsakul. W. (2006). Development of Civil Society and local Thai communities. In the textbook and educational guidelines, the social and local community course, Nonthaburi. Department of Political Science, Sukhothai Thammathirat Open University

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-27