24 ปี ของประเทศไทยในการเป็นภาคีอนุสัญญาแรมซาร์: กลไกการบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศ

ผู้แต่ง

  • ภิรนา พุทธรัตน์ อาจารย์ประจำภาควิชากฎหมายระหว่างประเทศ, คณะนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

อนุสัญญาแรมซาร์; แรมซาร์ไซต์; พื้นที่ชุ่มน้ำ

บทคัดย่อ

นับเป็นเวลากว่า 24 ปีแล้วที่ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นภาคีในอนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) ปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศ หรือแรมซาร์ไซต์ (Ramsar Site) ที่ขึ้นทะเบียนแล้ว เป็นจำนวน 15 แห่ง แต่ทว่าในทางปฏิบัติการคุ้มครองแรมซาร์ไซต์ของประเทศไทยยังคงเกิดปัญหาเรื่อยมา เพราะปัจจัยภายในที่ซ่อนอยู่ในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยมีนโยบายระดับชาติที่สามารถนำมาปรับใช้เพื่อรองรับการดำเนิน งาน และมีกฎหมายภายในหลายฉบับที่สอดคล้องกับอนุสัญญาแรมซาร์ อย่างไรก็ดีประเทศไทยยังมีปัญหาเรื่องการกำหนดขอบเขตพื้นที่ชุ่มน้ำบางแห่งไม่ชัดเจน รวมทั้งปัญหาการดำเนินกิจกรรมนอกขอบเขตพื้นที่ชุ่มน้ำที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นที่ชุ่มน้ำ ผู้วิจัยจึงเสนอให้มีการออกกฎหมายในการสร้างแนวพื้นที่กันชนพื้นที่ชุ่มน้ำ (Wetlands Buffer Zone) อย่างเป็นระบบ และในกรณีที่แรมซาร์ไซต์แห่งใดมีเขตพื้นที่ทับซ้อนกับเขตอนุรักษ์ประเภทต่าง ๆ การออกกฎหมายท้องถิ่นไม่ควรบัญญัติซ้ำกับข้อห้ามที่มีอยู่แล้วเพื่อป้องกันความสับสนในทางปฏิบัติ นอกจากนี้ในการวางแผนบริหารจัดการของแรมซาร์ไซต์ในแต่ละแห่งควรประกอบไปด้วยหลัก 4 ประการ คือ 1) การพัฒนาอย่างยั่งยืน 2) การอนุรักษ์ 3) การใช้ประโยชน์อย่างชาญฉลาด และ 4) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารซึ่งควรต้องมีในทุกขั้นตอนการดำเนินงาน

References

ภาษาไทย

กฎหมาย

กฎบัตรสหประชาชาติ (Charter of United Nations)

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ.2030 (SDGs)

แผนการปฏิรูปประเทศ

แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (พ.ศ.2561-พ.ศ.2580)

พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ.2562

พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ.2561

พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 (ปรับปรุงล่าสุด พ.ศ.2561)

พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2562

พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2562 เป็น

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ.2563

(ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566-พ.ศ.2570)

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (CITES)

อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (UNFCCC)

อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (CBD)

อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศโดยเฉพาะเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของนกน้ำ (Ramsar

Convention)

หนังสือ

เกษม จันทร์แก้ว. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 8 กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกษตร

ศาสตร์, 2553.

ธวัชชัย ศุภดิษฐ์. สิ่งแวดล้อม นิเวศวิทยา และการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพมหานคร: ทิพเนตร์การพิมพ์,

ศศินา ภารา. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร: บริษัท ส.เอเซียเพรส

(1989) จำกัด, 2550.

สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม และคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. แนวทางการจัดทํา

แผนการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม, 2543.

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รายงานสถานการณ์ คุณภาพสิ่งแวดล้อม

พ.ศ.2552. กรุงเทพมหานคร: สตูดิโอ จี บาร์, 2553.

อุดมศักดิ์ สินธิพงษ์, กฎหมายว่าด้วยความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม ความรับผิดทางแพ่ง การชดเชยเยียวยา

และการระงับข้อพิพาท, (กรุงเทพมหานคร: สำหนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), 2554, หน้า

-57.

ภาษาอังกฤษ

Raph Currier Davis. Fundamentals to Top Management. New York: Harper and Row Publisher,

บทความ

กฤตยา นิยมเดชา และรุจิโรจน์ อนามบุตร. “แนวทางการจัดการและการใช้ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน้ำสามร้อยยอด

จ.ประจวบคีรีขันธ์ เพื่อการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน,” วารสาร Humanities, Social Sciences and

arts มหาวิทยาลัยศิลปากร 12, 6 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2019): 1103.

ฐิตาภรณ์ น้อยนาลุ่ม และสุนีย์ มัลลิกะมาลย์. “ข้อบัญญัติท้องถิ่นต้นแบบว่าด้วยการบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ

บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสรรค์ (Local Regulation Model).” วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์

และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 7, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 116-133.

ณัฐวัฒน์ โต๊ะงาม และจุฑารัตน์ ชมพันธุ์. “ปัจจัยที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุ่มน้ำสำคัญระหว่างประเทศ:

กรณีศึกษาพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม.” วารสารวิจัยรำไพพรรณี 9, 2 (กุมภาพันธ์ –

พฤษภาคม 2558): 21-30.

พิชัยศักดิ์ หรยางกูร. “การออกกฎหมายแบบสั้นเพื่ออนุวัติการข้อตกลงระหว่างประเทศ (Short-Form

Legislation for the Implementation of International Agreements).” วารสาร Assumption

Law Journal 6, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2558): 58-62.

พรหมภัสสร ชุณหบุญญทิพย์. “การท่องเที่ยวชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมพื้นที่ชุ่มน้ำ

หนองไชยวาน บ้านดอนแดง อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม (Community Tourism and

Environmental Conservation Participant in Nong Chiwan Wetland Dondeng Village,

Srisongkram District, Nakhon Phanom Province).” วารสารวิทยาการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ

, 2, (2560): 47-62.

ศุภวุฒิ โมกข์เมธากุล. “ปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายในการให้ความคุ้มครองพื้นที่ชุ่มน้ำ (Legal Problems

and Obstacles in Wetland Protection).” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม 35, 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2559): 134-147.

สุทธวรรณ อินทรพาณิช และแก้วตา จันทรานุสรณ์. “การช่วงชิงความหมายในการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ

กรณีศึกษากุดทิง จังหวัดบึงกาฬ (Contested Space: The Kut Ting Ramsar Site in Bueng Kan

Province, Thailand).” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง 10, 1 (มกราคม-เมษายน 2557): 175.

อินเตอร์เน็ต

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง [Online] Available URL:

https://projects.dmcr.go.th/miniproject/169/ description/ 48863, 2565 (มิถุนายน, 14)

คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม. ความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม รายงานการวิจัยเสนอต่อสถาบันนโยบายศึกษา. ม.ป.พ.,

จิตศักด์ พุฒจร. “รูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศพื้นที่อุทยานแห่งชาติทางทะเลในประเทศไทย.”

วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม,

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560

ฐิตาภรณ์ น้อยนาลุ่ม และสุนีย์ มัลลิกะมาลย์. “ข้อบัญญัติท้องถิ่นต้นแบบว่าด้วยการบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ

บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสรรค์ (Local Regulation Model).” วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์

และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 7, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 116-133.

ณัฐวัฒน์ โต๊ะงาม และจุฑารัตน์ ชมพันธุ์. “ปัจจัยที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุ่มน้ำสำคัญระหว่างประเทศ:

กรณีศึกษา พื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม.” วารสารวิจัยรำไพพรรณี 9, 2

(กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม 2558): 21-30.

นพนิธิ สุริยะ. Lecture Notes กฎหมายระหว่างประเทศ เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์

วิญญูชน, 2556.

นักสิทธิ์ สังข์จันทร์. เอกสารประกอบการเสนอพื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำสงครามตอนล่างขึ้นทะเบียนเป็นพื้นที่แรมซาร์

ไซต์. WWF Thailand. (ม.ป.พ., 2559).

มงคล ไชยภักดี และวัลยา ชนิตตาวงศ์. “สถานการณ์และการบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในประเทศไทย,” ใน

ผลงานวิจัยและรายงานความก้าวหน้างานวิจัย ประจำปี 2549, กลุ่มงานวิจัยสัตว์ป่า สำนักอนุรักษ์

สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่า และพันธุ์พืช, หน้า 305-327. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.พ., 2550.

สุทธวรรณ อินทรพาณิช และแก้วตา จันทรานุสรณ์. “การช่วงชิงความหมายในการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ

กรณีศึกษากุดทิง จังหวัดบึงกาฬ (Contested Space: The Kut Ting Ramsar Site in Bueng Kan

Province, Thailand).” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง 10, 1 (มกราคม-เมษายน 2557): 163-185.

สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.). รายงาน

สรุปผลการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการบริหารจัดการป่าพรุโต๊ะแดง ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3

ระหว่างเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม 2561 ณ เขตพื้นที่จังหวัดนราธิวาส. ม.ป.พ., 2561.

วชิรายุ เกียรติบุตร. เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหนองบงคาย [Online] Available URL:

https://shorturl.asia/gC9cn, 2565 (มิถุนายน, 15)

ศุภวุฒิ โมกข์เมธากุล. “ปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายในการให้ความคุ้มครองพื้นที่ชุ่มน้ำ (Legal Problems

and Obstacles in Wetland Protection).” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม 35, 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2559): 134-147.

อุมาพร มุณีแนม และพงศ์บวร สุวรรณณัฐโชติ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ความมั่นคงทางอาหารของชุมชน

ใกล้พื้นที่อนุรักษ์ 3 แห่ง พรุควนขี้เสียน พรุควนเคร็งและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย. สงขลา:

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559.

Translated Thai Reference

Krittaya Niyomdecha and Rujirot Anambutr. “Management and Utilization of Sam Roi Yot

Wetlands. Prachuap Khiri Khan Province for Sustainable Conservation.” Journal of

Humanities, Social Sciences and arts, Silpakorn University, 12, 6 (November-December

: 1097-1109.

Ministry of Natural Resources and Environment. Department of Marine and Coastal

Resources [Online] Available URL: https://projects.

dmcr.go.th/miniproject/169/description/48863,2022 (June, 14).

Kanuengnit Sribuaiam. Environmental justice The research report is presented to the

Institute of Educational Policy. n.p., 2016.

Jitsak Putjorn. “The Model of Ecotourism Management in Marine National Parks in Thailand.”

Thesis according to the Doctor of Philosophy program. Department of Environmental

Management, Prince of Songkla University, 2017

Thitaporn Noi Nalum and Sunee Mallikamal. “Model local ordinances on the management of

wetlands in Bung Boraphet Nakhon Sawan Province (Local Regulation Model).”

Academic Journal Faculty of Humanities and Social Sciences Nakhon Sawan

Rajabhat University 7, 2 (July-December 2020): 116-133.

Nattawat To-ngam and Jutharat Chomphan. “Environmental Factors Affecting International

Important Wetlands: A Case Study of Don Hoi Lod Wetlands. Samut Songkhram

Province.” Rambhai Barni Research Journal 9, 2 (February – May 2015): 21-30.

Noppanithi Suriya. Lecture Notes International Law vol. 1. 7th edition. Bangkok: Wiyuchon

Publishing, 2013.

Naksit Sangchan. Documents proposing the lower Songkhram River wetlands to be registered

as Ramsar Site. WWF Thailand. (N.P., 2016).

Mongkol Chaipakdee and Wanaya Chanitawong. “The Situation and Management of Wetlands

in Thailand,” in Research Results and Research Progress Report 2006, Wildlife

Research Group. Wildlife Conservation Office Department of National Parks and Wildlife

and plant species, pp. 305-327. Bangkok: N.P., 2007.

Suttawan Inthaphanich and Kaewta Chantranusorn. “The Controversy for Wetland Management

Kutting case study Bueng Kan Province (Contested Space: The Kut Ting Ramsar Site in

Bueng Kan Province, Thailand).” Mekong Society Journal 10, 1 (January-April 2014):

-185.

Office of the Special Committee for Coordinating Royal Initiative Projects (Office of the Royal

Thai Government). Report summarizing the results of the 1st, 2nd and 3rd Todang

Peat Management Workshops between May and July. 2018 at Narathiwat Province

area. N.P., 2018.

Wachirayu Kiatbutr. Nong Bong Khai Non-Hunting Area [Online] Available URL:

https://shorturl.asia/gC9cn, 2022 (June, 15)

Supawut Mokmethakul. “Legal Problems and Obstacles in Wetland Protection.” Journal of

the Humanities and Social Sciences. Mahasarakham University 35, 3 (May-June

: 134-147.

Umaporn Muneenam and Pongbowon Suwannatchot. A complete research report on food

security of communities near 3 conservation areas Khuan Kreng Peat and Thale

Noi Non-Hunting Area. Songkhla: Prince of Songkhla University, 2016.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-03-31

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)