การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเทศบาลตำบลแวงน่าง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม
คำสำคัญ:
การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุบทคัดย่อ
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเทศบาลตำบลแวงน่าง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โดยใช้การวิจัยแบบผสม ซึ่งในเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุจำนวน 400 คน เก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขณะที่การวิจัยเชิงคุณภาพรวบรวมข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ผู้ให้สัมภาษณ์ คือ ผู้สูงอายุจำนวน 8 คน และจัดการข้อมูลโดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดหมวดหมู่ และนำเสนอในเชิงพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า 1) ความต้องการเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด 3 ด้าน ได้แก่ ด้านสภาพร่างกายที่ดี ด้านสภาพความเป็นอยู่ที่ดี และด้านสภาพอารมณ์ที่ดี ตามลำดับ และในระดับมาก 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการรวมกลุ่มทางสังคม และด้านการตัดสินใจได้ด้วยตนเอง ตามลำดับ และ 2) ข้อเสนอแนะที่สำคัญ ได้แก่ (1) หน่วยงานภาครัฐ อาสาสมัคร จิตอาสา ควรมีการลงพื้นที่ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุเป็นประจำ (2) ควรมีการเพิ่มเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมากขึ้นจากเดิม (3) ควรมีการเปิดศูนย์การเรียนรู้ฝึกอาชีพให้ผู้สูงอายุ (4) ควรมีการจัดทำลานกิจกรรมให้แก่ผู้สูงอายุ และ (5) ควรมีการเปิดโรงเรียนผู้สูงอายุในชุมชนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขภาพ
ผลการศึกษา พบว่า 1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด 3 ด้าน ได้แก่ ด้านสภาพร่างกายที่ดี ด้านสภาพความเป็นอยู่ที่ดี และด้านสภาพอารมณ์ที่ดี ตามลำดับ และในระดับมาก 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการรวมกลุ่มทางสังคม และด้านการตัดสินใจได้ด้วยตนเอง ตามลำดับ และ 2) ข้อเสนอแนะที่สำคัญ ได้แก่ (1) หน่วยงานภาครัฐ อาสาสมัคร จิตอาสา ควรมีการลงพื้นที่ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุเป็นประจำ (2) ควรมีการเพิ่มเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมากขึ้นจากเดิม (3) ควรมีการเปิดศูนย์การเรียนรู้ฝึกอาชีพให้ผู้สูงอายุ (4) ควรมีการจัดทำลานกิจกรรมให้แก่ผู้สูงอายุ และ (5) ควรมีการเปิดโรงเรียนผู้สูงอายุในชุมชนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขภาพ
Downloads
References
ภาษาไทย
กรมสุขภาพจิต. (2563). ก้าวย่างของประเทศไทยสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์แบบ. สืบค้นจาก https://dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30476, เข้าถึงเมื่อ 10 มกราคม 2564.
โกศล สอดส่อง. (2561). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา จังหวัดนครพระนครศรีอยุธยา. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร, 6(1), 162-175.
เจษฎา นกน้อย และวรรณภรณ์ บริพันธ์. (2560). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดสงขลา. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 9(3), 94-105.
นวรัตน์ ปัญจธนทรัพย์. (2563). การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาตนเอง ในเขตอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี (วิทยานิพนธ์). มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.
นิธิภัทร ชิตานนท์. (2563). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลเสม็ด อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์). มหาวิทยาลัยบูรพา.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น.
พระมหาพรพิรุณภัทร บุญก้อน (จิตเมโธ). (2564). การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลท่าขอนยาง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(3), 195-202.
ภัทราภรณ์ ด้วงเรือง. (2563). การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุของเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 6(1), 122-134.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2559). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2559. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2560. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง.
วิพรรณ ประจวบเหมาะ และคณะ. (2557). “คุณค่าผู้สูงอายุ” ภายใต้โครงการสำรวจและศึกษาเพื่อเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม ไตรมาสที่ 4 (มีนาคม 2557-พฤษภาคม 2557) (รายงานวิจัย). สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สนธยา สวัสดิ์. (2561). การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนบ้านร้องเม็ง ตำบลหนองแหย่ง อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
สุทธิพงศ์ บุญผดุง. (2554). การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ 1) (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ภาษาอังกฤษ
Beadle-Brown, J., Murphy, G., and DiTerlizzi, M. (2008). Quality of Life for the Camberwell Cohort. Journal of Applied Research in Intellectual Disabilities, 24, 380-390.
United Nation. (2011). UN National Institute on Ageing. Bethesda: National Institute of Health.
United Nation. (2015). World populations ageing 2015. New York: United Nation.
United Nation. (2016). World populations ageing 2016. New York: United Nation.
Yamane, T. (1973). Statistics and Introductory Analysis (2nd ed.). New York: Harper and Row.
Translated Thai References
Department of Mental Health. (2020). The steps of Thailand towards a perfect aging society. Retrieved from https://dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30476, accessed on January 10, 2021.
Kosol Sodsong. (2018). Quality of life of the elderly in Phra Nakhon Si Ayutthaya municipality. Nakhon Phra Nakhon Si Ayutthaya Province Journal of Education, MR. 6(1), 162-175.
Jesada Noknoi and Wannaporn Boriphan. (2017). Quality of Life of the Elderly in Songkhla Province. Journal of Narathiwat Rajanagarindra University, 9(3), 94-105.
Nawarat Panjathanasap (2020). Quality of life development of the self- reliant elderly. in Ban Pong district Ratchaburi Province (thesis). Bangkok Thonburi University.
Nithipat Chitanon. (2020). Quality of life of the elderly in Samet municipality. Mueang Chonburi District Chonburi Province (thesis). Burapha University
Boonchom Srisaard. (2010). Preliminary research. 8th edition. Bangkok: Suweeriyasan.
Phramahaphon Phirunphat Boonkon (Jitmetho). (2021). Quality of life development of the elderly in Tha Khon Yang Sub-District Municipality School for the Elderly. Kantharawichai District Maha Sarakham Province Journal of Social Sciences for Local Development Maha Sarakham Rajabhat University, 5(3), 195-202.
Pattaraporn Duangruang. (2020). Quality of Life Development for the Elderly in Nonthaburi City Municipality. Nonthaburi Province Humanities and Social Sciences Journal Ratchaphruek University, 6(1), 122-134.
Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute. (2016). Situation of the Thai Elderly 2016. Bangkok: Amarin Printing. and Publishing.
Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute. (2017). Situation of the Thai Elderly 2017. Bangkok: Amarin Printing. and Publishing.
Wipan Prachuabmoh and others. (2014). “Value of the elderly” under the survey and study project for social surveillance and early warning, quarter 4 (March 2014-May 2014) (research report). Office of the National Economic and Social Development Board.
Sontaya Sawat. (2018). Quality of Life Development for the Elderly in Ban Rong Meng Community. Nong Yang Subdistrict, San Sai District, Chiang Mai Province (Research report). Chiang Mai Rajabhat University.
Sutthipong Boonpadung. (2011). Quality of Life Development for the Local Elderly Using School Based on the Sufficiency Economy Principle (Phase 1) (Research Report). Suan Sunandha Rajabhat University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.