บทบาทของสหรัฐอเมริกากับการสนับสนุนสิทธิสตรีผ่านการศึกษาการ์ตูน วอลท์ดิสนีย์ที่ผู้หญิงมีบทบาทนำ

ผู้แต่ง

  • ศรัณย์ภัทร์ ไชยแหม่ง บัณฑิตรัฐศาสตร์ เอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, วิทยาลัยการเมืองการปกครอง, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • นิลุบล ไพเราะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์, วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

สิทธิสตรี; การ์ตูนวอลท์ ดิสนีย์; บทบาทของสหรัฐอเมริกา

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการ์ตูนดิสนีย์ที่ผู้หญิงมีบทบาทนำที่เชื่อมโยงกับการวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ของสหรัฐอเมริกาในการสนับสนุนสิทธิสตรี โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ  ใช้เครื่องมือการวิเคราะห์เอกสาร (Documentary Analysis) เกี่ยวกับประเด็นสิทธิสตรีผ่านภาพยนตร์การ์ตูนดิสนีย์ ทั้งจากการทบทวนวรรณกรรม ร่วมกับการวิเคราะห์ตัวบท (Textual Analysis) จากสื่อภาพยนตร์การ์ตูนดิสนีย์  แนวคิดทฤษฎี  ใช้แนวคิดสำนักสตรีนิยม แนวคิด Soft Power แนวคิดจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทภาพยนตร์และแนวคิดการเล่าเรื่อง มาอธิบายผ่านกรณีศึกษาภาพยนตร์การ์ตูน 5 เรื่อง ได้แก่ 1) ผจญภัยแดนคำสาปราชินีหิมะ (Frozen) 2) นครสัตว์มหาสนุก (Zootopia)  3) ผจญภัยตำนานหมู่เกาะทะเลใต้ (Moana)  4) รวมเหล่ายอดคนพิทักษ์โลก 2 (Incredible 2) และ 5) รายากับมังกรตัวสุดท้าย (Raya and the Last Dragon) โดยผู้วิจัยมีความสนใจการนำเสนอบทบาทตัวละครผู้หญิงในการ์ตูนและเรื่องราวที่นําเสนอออกมาให้ได้รับชม ซึ่งเป็นการศึกษาในช่วงที่วอลท์ ดิสนีย์ปรับเปลี่ยนเนื้อหาให้สอดคล้องกับความเคลื่อนไหวด้านสตรีนิยมที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งยังวิเคราะห์แนวนโยบายด้านสิทธิสตรีของสหรัฐอเมริกาในช่วงเวลาที่ภาพยนตร์ดังกล่าวเข้าฉายควบคู่กันอีกด้วย ผลการศึกษาพบว่าภาพยนตร์การ์ตูนดิสนีย์ทั้ง 5 เรื่องนั้น ได้นำเสนอบทบาทของผู้หญิงที่สะท้อนลักษณะตามที่สำนักสตรีนิยมให้คำอธิบาย โดยมีการขยายภาพความสามารถของผู้หญิงและส่งเสริมให้ตัวละครผู้หญิงมีบทบาทสำคัญและบทบาทนำมากขึ้น รวมถึงเนื้อหาของภาพยนตร์บางเรื่องได้แสดงให้เห็นการช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างชายหญิงที่เป็นไปตามแนวคิดสตรีนิยมสายเสรีนิยมที่สนับสนุนความเท่าเทียมของชายหญิง  ในขณะเดียวกันภาพยนตร์ทั้ง 5 เรื่อง ยังถูกใช้เป็นเครื่องมือ Soft Power ของสหรัฐอเมริกา เพื่อส่งเสริมสิทธิและการเสริมอำนาจของผู้หญิงและเด็กผู้หญิงผ่านนโยบายต่างประเทศร่วมกับสื่อจากดิสนีย์  ซึ่งการดำเนินงานของสหรัฐอเมริกานี้เชื่อมโยงกับการสร้างความตระหนักในการสนับสนุนสิทธิสตรีในสังคมโลกและเป็นการขยายอุดมการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนตามนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาอีกด้วย

References

ภาษาไทย

กนกพรรณ วิบูลยศริน. 2547. การเปรียบเทียบภาพตัวแทนของผู้หญิงสมัยใหม่และหลังสมัยใหม่ใน ภาพยนตร์ไทยและภาพยนตร์อเมริกัน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ขจร ฝ้ายเทศ, และสรารักษ์ โรจนพฤกษ์. 2557. การวิเคราะห์ภาพตัวแทนความเป็นสตรีในสื่อภาพยนตร์การ์ตูนวอล ดิสนีย์. การค้นคว้าแบบอิสระภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ขวัญจิรา สุโสภา. 2564. เอลซ่า: เจ้าหญิงดิสนีย์ผู้แหวกขนบเดิม กับตัวแทนผู้หญิงโสดที่มีความสุขได้แม้ไร้คู่ครอง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://thepeople.co/elsa-frozen/.

ชเนตตี. 2563. สงครามเฟมินิสต์ จากคลื่นลูกที่ 1 ถึง ยุคดิจิทัล อำนาจและข้อโต้แย้งที่ไม่เคยเปลี่ยน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://workpointtoday.com/lutte-feminism-chanettee2020/.

ชัชาภา อ้อพงษ์. 2555. อิทธิพลของภาษาและวัฒนธรรมเกาหลีในหมู่ผู้ใช้เว็บไซต์ป็อปคอร์นฟอร์ทู ดอทคอม. การค้นคว้าอิสระภาควิชาภาษาตะวันตก สาขาวิชาภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม . มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชัยยะ ฤดีนิยมวุฒิ. 2564. SOFT POWER คืออะไร? พลังซอฟต์ ที่ไม่ซอฟต์เสมอไป พลังที่กระตุกจิต กระชากใจคนทั่วโลก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.brandthink.me/content/whatissoftpower.

ต่อศักดิ์ จินดาสุขศรี. 2558. สตรีนิยมกับมายาคติ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.tcijthai.com/ news/2015/06/article/5606.

ธัญลักษณ์ สว่างเรืองไพศาล. 2557. การนำเสนอวัฒนธรรมอเมริกันทางการเมืองผ่านทางภาพยนตร์ ฮอลลีวู้ดที่ได้รางวัลออสการ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์และสารสนเทศ ภาควิชานิเทศศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธันย์ชนก จันฝาก. 2564. 10 ตัวละครพิสูจน์บทบาทของผู้หญิงว่า ‘เล็กพริกขี้หนู’ เป็นอย่างไร อย่าได้ดูถูกพลังของพวกเธอเด็ดขาด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://thestandard.co/10-characters-prove-women-power/.

ปฐมพงษ์ ท่าข้าม. 2556. ภาพตัวแทนรัฐอันธพาลในภาพยนตร์อเมริกันสมัยจอร์จ ดับเบิลยู บุช (ค.ศ. 2001-2008). วิทยานิพนธ์ปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน สาขาวิชาสื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปรีชภักดิ์ ทีคาสุข. 2564. ทฤษฎีสังคมวิทยาว่าด้วย Zootopia และชีวิตที่ปราศจากการลิ้มรสเสรีภาพในเมืองแห่งเสรีภาพ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://prachatai.com/journal/2016/03/64777.

ภวิณี ตึกดีเทพทอง. 2560. การนำเสนอภาพลักษณ์สตรีในการเล่าเรื่องผ่านตัวละครในภาพยนตร์การ์ตูน แอนิเมชั่น เรื่อง โฟรเซ่น (Frozen). วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์และนวัตกรรม. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ภัทรพงศ์ คงวัฒนา. 2558. การต่อรองปิตาธิปไตยผ่านมุมมองสตรีนิยมเชิงนิเวศในอนิเมชันเรื่องโมอานา. การค้นคว้าแบบอิสระภาควิชาศิลปศาสตร์ คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

ภัทรศศิร์ ช้างเจิม. 2559. ภาพตัวแทนผู้หญิงในการ์ตูน Disney Princess. วิทยานิพนธ์ปริญญาวารสาร ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

อุสุมา สุขสวัสดิ์ . 2561 . รัฐกับศักยภาพของภาพยนตร์ . วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม .

ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (11) ม.ค. - มิ.ย. หน้า 117.

Blue O'Clock, 2561. ประวัติ Walt Disney ผู้ต่อเติมโลกแห่งจินตนาการ ให้กลายเป็นเป็นโลกแห่งความจริง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.blueoclock.com/walt-disney-story/.

Bugaboo.TV. 2564. เจ้าหญิงดิสนีย์ กับการแฝงแนวคิดสตรีนิยม. เข้าถึงได้จาก : https://www.youtube.com/watch?v=ymf6ApGsBV0&ab_channel=Bugaboo.TV.

Jimmyzaa. 2555. บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://jimmyzaa.multiply.com.

Pimchanok Bunchaeng. 2563. ถอดสมการเจ้าหญิงดิสนีย์ที่สะท้อนค่านิยมหญิงแต่ละยุคตลอดระยะเวลากว่า 8 ทศวรรษ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.nylonthailand.com/disney-princess-in-80-years/.

Pipit Sitthisak. 2556. 4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.slideshare.net/pipit2010/104-22581989.

Silpawattanatham. 2563. 9 มิถุนายน 1934 : “โดนัลด์ ดั๊ก” เป็ดขี้โมโหปรากฏตัวเป็นครั้งแรก.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.silpa-mag.com/this-day-in-history/article_410.

thaireform, 2560. จากคำค้นแห่งปี Feminism สตรีนิยม ถึง Gender identity อัตลักษณ์ทางเพศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.isranews.org/content-page/item/62401-feminism.html.

The Movement/Ton. 2562. พลังหญิง ของนางเอกดิสนีย์ยุคใหม่. เข้าถึงได้จาก : https://www.youtube.com/watch?v=Rds0yqnUENQ&ab_channel=TheMovement%2FTon.

THE STANDARD CULTURE. 2561. ชีวิตและความสำเร็จของ Walt Disney บุคคลที่ได้รับรางวัลออสการ์มากที่สุดในโลก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://thestandard.co/list-of-academy-awards-for-walt-disney/.

THE STANDARD CULTURE. 2561. บทบาทผู้หญิงในแอนิเมชัน Disney Pixar จากเจ้าหญิงผู้อ่อนแอสู่บทคุณแม่และเมีย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://thestandard.co/disney-pixar-women-empowerment/.

The Visual ThaiPBS. 2564. บทบาทผู้หญิงอยู่ตรงไหน? … ในโลกเบื้องหลังหน้าจอ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://thevisual.thaipbs.or.th/gender-on-screen/women-in-films/.

The Walt Disney Company (เจ้าของลิขสิทธิ์). 2564. ภาพยนตร์การ์ตูนนครสัตว์มหาสนุก (Zootopia). เข้าถึงได้จาก : https://www.hotstar.com/th/movies/zootopia/1260017510.

The Walt Disney Company (เจ้าของลิขสิทธิ์). 2564. ภาพยนตร์การ์ตูนผจญภัยแดนคำสาปราชินีหิมะ (Frozen). เข้าถึงได้จาก : https://www.hotstar.com/th/movies/frozen/1260018197.

The Walt Disney Company (เจ้าของลิขสิทธิ์). 2564. ภาพยนตร์การ์ตูนผจญภัยตำนานหมู่เกาะทะเลใต้ (Moana). เข้าถึงได้จาก : https://www.hotstar.com/th/movies/moana/1260017500.

The Walt Disney Company (เจ้าของลิขสิทธิ์). 2564. ภาพยนตร์การ์ตูนรายากับมังกรตัวสุดท้าย (Raya and the Last Dragon). เข้าถึงได้จาก : https://www.hotstar.com/th/movies/incredibles-2/1660010691.

The Walt Disney Company (เจ้าของลิขสิทธิ์). 2564. ภาพยนตร์การ์ตูนรวมเหล่ายอดคนพิทักษ์โลก 2 (Incredible 2). เข้าถึงได้จาก : https://www.hotstar.com/th/movies/incredibles 2/ 1660010691.

The Walt Disney Company (เจ้าของลิขสิทธิ์). 2564. ภาพยนตร์การ์ตูน Gallopin' Gaucho (1928). เข้าถึงได้จาก : https://www.imdb.com/title/tt0018925/.

Vanat Putnark. 2560. เจ้าหญิงดิสนีย์ยุคใหม่ เข้มแข็งดีไม่ต้องมีผัว. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://thematter.co/social/happy-without-hubby/2357.

Vanat Putnark. 2564. Disney Studies สำรวจประเด็นสำคัญจาก 10 งานศึกษา ว่าด้วยการ์ตูนดิสนีย์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://thematter.co/social/disney-studies-10-research/147634.

ภาษาอังกฤษ

Lin, B. (2015). Feminist movement in the U.S. and changes of Disney characters. Retrieved from https://disneyanimatedinstructor.wordpress.com/2015/05/14/feminist-movement-in-the-u-s-and-changes-of-disney-characters/

Burkard, K. (2012). The Walt Disney Company, Nintendo, and the Third Culture. Retrieved from http://www.kburkard.com/disneynintendoessay

Cubillas, S. (2020). One Piece: Every movie villain, ranked. Retrieved from https://www.cbr.com/one-piece-every-movie-villain-ranked/#black-fist-zephyr

Hellmann, N. (2020). The evolution of Mickey Mouse. Retrieved from https://www.waltdisney.org/blog/evolution-mickey-mouse

Parks, M. (2014). How fourth-wave feminism is changing Disney’s princesses. Retrieved from https://www.highbrowmagazine.com/4388-how-fourth-wave-feminism-changing-disney-s-princesses

Quinn, S. (2017). 10 Disney propaganda cartoons from World War II. Retrieved from https://listverse.com/2017/02/05/10-disney-propaganda-cartoons-from-world-war-ii/

Randall, S. (2016). Feminisney: When Disney meets feminism. Retrieved from https://www.huffpost.com/entry/feminisney-when-disney-me_b_10634040

The Democratic National Committee. (2021). The Biden Agenda for Women. Retrieved from https://joebiden.com/womens-agenda/

The Obama White House. (2016). President Obama's Record on Empowering Women and Girls. Retrieved from https://obamawhitehouse.archives.gov/issues/women

The Walt Disney Company. (2017). #DreamBigPrincess exhibit opens at United Nations headquarters in New York. Retrieved from https://thewaltdisneycompany.com/dreambigprincess-exhibit-opens-united-nations-headquarters-new-york/

The Walt Disney Company. (2019). Disney storytelling and innovation inspire participants in U.S. State Department’s Hidden No More exchange program. Retrieved from https://thewaltdisneycompany.com/disney-storytelling-and-innovation-inspire-participants-in-u-s-state-departments-hidden-no-more-exchange-program/

UN Women. (2021). The United States of America to work towards a world where every woman and girl can enjoy their rights and freedoms. Retrieved from https://www.unwomen.org/en/get-involved/step-it-up/commitments/usa

U.S. Department of State. (2021). Office of Global Women’s Issues. Retrieved from https://www.state.gov/bureaus-offices/secretary-of-state/office-of-global-womens-issues

Translated Thai References

Blue O'Clock, (2017). Biography of Walt Disney, the creator of the fantasy world into the real world. [Blog Post]. Retrieves from https://www.blueoclock.com/walt-disney-story/.

Bugaboo.TV. (2021). Disney princess with the impersonation of feminist ideas. [Video]. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=ymf6ApGsBV0&ab_channel=Bugaboo.TV.

Bunchaeng, P. (2020). Deconstruction of the Disney princess's equation that reflects the values of women in each generation over eight decades. Retrieved from https://www.nylonthailand.com/disney-princess-in-80-years/.

Chanettie. (2020). The feminist war: From the 1st wave to the digital age, power and arguments have never changed. [Blog post]. Retrieved from https://workpointtoday.com/lutte-feminism-chanettee2020/.

Changjerm, P. (2016). The representation of female in Disney princess [Master’s thesis, Thammasat University]. Department of Mass Communication, Faculty of Journalism and Mass Communication.

Chanpak, T. (2021). 10 characters prove the role of 'Bantam' women and don't underestimate their power. Retrieved from https://thestandard.co/10-characters-prove-women-power/.

Fyeted, K., & Rochanapruk, S. (2014). Study of feminine representation as depicted in animated media by Walt Disney. Independent study, Department of Communication and Information Sciences, Faculty of Humanities, Kasetsart University.

Jimmyzaa. (2012). Roles and influences of movies. [Blog Post]. Retrieved from https://jimmyzaa.multiply.com.

Kongwattana, P. (2016). Negotiating patriarchy from the ecofeminist perspective. Independent study, Department of Liberal Arts, Faculty of Liberal Arts and Science, Kasetsart University (Kamphaeng Saen Campus).

Orpong, C. (2012). Influence of Korean language and culture on users of www.Popcornfor2.com. Independent study, Department of Western Languages, Faculty of Language and Intercultural Communication, Silpakorn University.

Putnark, V. (2017). Modern Disney princesses being strong don't need a husband. [Blog post]. Retrieved from https://thematter.co/social/happy-without-hubby/2357.

Putnark, V. (2021). Disney studies: The exploration of themes from 10 studies on Disney animations. [Blog post]. Retrieved from https://thematter.co/social/disney-studies-10research/147634.

Ruedeeniyomvuth, C. (2021). What is SOFT POWER? Soft power is not always soft. The power that is mind-blowing and stirs people around the world. [Blog post]. Retrieved from https://www.brandthink.me/content/whatissoftpower

Silpawattanatham. (2020). June 9, 1934: "Donald Duck" is the first appearance of the angry duck. [Blog Post]. Retrieved from https://www.silpa-mag.com/this-day-in-history/article_410.

Sitthisak, P. (2012). 4 Characteristics, roles, and influences of movies. [Presentation]. Retrieved from https://www.slideshare.net/pipit2010/104-22581989.

Susopha, K. (2021). Elsa: The violator of traditions Disney princesses with representatives of single women who can be happy without a male partner [Blog post]. Retrieved from http://www.kburkard.com/disneynintendoessay.

Swangruangpisal, T. (2014). The presentation of American political culture in Oscar award Hollywood film [Master’s thesis, Kasetsart University]. Department of Communication and Information Sciences, Communication Arts and Information.

Takam, P. Representation of ‘Rogue State’ presented in American Movies: During George W. Bush Administration (2001-2008). [Master’s thesis, Thammasat University]. Department of Mass Communication, Faculty of Journalism and Mass Communication.

Tekasuk, P. (2021). The sociological theory of 'Zootopia' and life in the city of liberty. [Blog post]. Retrieved from https://prachatai.com/journal/2016/03/64777.

Teptong, T. P. (2017). The interpretation of femininity through storytelling: A study of protagonists on Frozen [Master’s thesis, National Institute of Development Administration]. Department of Communication Arts and Innovation.

thaireform, (2017). From the keywords of the year, Feminism to Gender identity. [Blog Post]. Retrieved from https://www.isranews.org/content-page/item/62401-feminism.html.

The Movement/Ton. (2019, November 17). Women's power of the modern Disney princess [Video file]. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=Rds0yqnUENQ&ab_channel=TheMovement%2FTon

THE STANDARD CULTURE. (2017). The life and achievements of Walt Disney, the most awarded Oscar winner in the world. Retrieved from : https://thestandard.co/list-of-academy-awards-for-walt-disney/.

THE STANDARD CULTURE. (2017). The role of Female characters in Disney Pixar Animation: From a Weak Princess become to Mother and Wife. Retrieved from : https:// thestandard.co/disney-pixar-women-empowerment/.

The Visual ThaiPBS. (2021). Where is the role of women?... in the world of behind the scenes. Retrieved from https://thevisual.thaipbs.or.th/gender-on-screen/women-in-films/

The Walt Disney Company. (2021). Frozen [Motion picture]. Retrieved from https://www.hotstar.com/th/movies/frozen/1260018197

The Walt Disney Company. (2021). Incredibles 2 [Motion picture]. Retrieved from https://www.hotstar.com/th/movies/incredibles-2/1660010691

The Walt Disney Company. (2021). Moana [Motion picture]. Retrieved from https://www.hotstar.com/th/movies/moana/1260017500

The Walt Disney Company. (2021). Raya and the last dragon [Motion picture]. Retrieved from https://www.hotstar.com/th/movies/raya-and-the-last-dragon/1660010691

The Walt Disney Company. (2021). Zootopia [Motion picture]. Retrieved from https://www.hotstar.com/th/movies/zootopia/1260017510

Torsak Chindasuksri. (2015). Feminism and mythology. Retrieved from https://www.tcijthai.com/news/2015/06/article/5606

Usuma Sukhsvasti . 2018 . State and Potentials of Cinema . The Journal of Social Communication Innovation . Vol 6 No 1 (11) January – June 2018.

Wiboolyasarin, K. (2004). The Comparison of representations of modern and postmodern women in Thai and American movies. [Master’s thesis, Chulalongkorn University]. Department of Mass Communication.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-24

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)