ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลตลาดเกรียบ: สภาพปัจจุบัน โอกาสและอุปสรรค

ผู้แต่ง

  • ปิยากร หวังมหาพร หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์, วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ, มหาวิทยาลัยศรีปทุม

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน โอกาสและอุปสรรคในการบริหารจัดการของศพอส.เทศบาลตำบลตลาดเกรียบ เทศบาลตำบลตลาดเกรียบตระหนักถึงปัญหาผู้สูงอายุจึงร่วมมือกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จัดตั้งศพอส.เทศบาลตำบลตลาดเกรียบขึ้น ศพอส.บริหารจัดการในรูปแบบคณะกรรมการ มีการทำงานในรูปแบบเครือข่ายความร่วมมือ งบประมาณส่วนใหญ่มาจากการเขียนโครงการขอจากหน่วยงานภาครัฐและมาจากเงินบริจาคจากหน่วยงานเอกชน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสนับสนุนเรื่องวิชาการและโอกาสในการพัฒนาเครือข่าย จุดแข็งของศพอส.เทศบาลตำบลตลาดเกรียบคือ การทำงานแบบเครือข่าย จุดอ่อนคือการขาดเงินทุน จำนวนผู้สูงอายุติดบ้านจำนวนมากและการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารของเทศบาลอาจเป็นอุปสรรคในการทำงาน แนวคิดการแยกศพอส.ให้เป็นอิสระจากเทศบาลเป็นโอกาสที่จะทำให้ศพอส.ใช้จุดแข็งให้เป็นประโยชน์และเอาชนะอุปสรรคเพื่อเป็นศูนย์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุอย่างยั่งยืนต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

References

ภาษาไทย

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2560). คู่มือมาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

เทศบาลตำบลตลาดเกรียบ. (2566). ฐานข้อมูลผู้สูงอายุ. ม.ป.ท.

ปิยากร หวังมหาพร. (2556). เครือข่ายความร่วมมือในการบริหารโครงการสัญญาณห่วงใยเพื่อผู้สูงอายุของเทศบาลเมืองศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วารสารการเมือง การบริหารและกฎหมาย, 5(3), 19-55.

วีระศักดิ์ เครือเทพ. (2550). เครือข่าย: นวัตกรรมการทำงานขององค์กรปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ซิโน ดีไซน์.

ภาษาอังกฤษ

Agranoff, Robert & Michael McGuire. (2001). Big questions in public network management research. Journal of Public Administration Research and Theory, 11(3), 295-326.

_______. (2003). Collaborative public management: New strategies for local governments. Washington, DC: Georgetown University Press.

Agranoff, Robert. (2006). Inside collaborative networks: Ten lessons for public managers. [Special issues]. Public Administrative Review, 66(6), 56-65.

_______. (2007). Managing within Networks: Adding value to public organizations. Washington, DC: Georgetown University Press.

Alter, Catherine, & Hage, Jerald. (1993). Organizations working together. California: Sage.

Goldsmith, Stephen & Eggers, William D. (2004). Governing by networks: The new shape of the public sector. Washington, D.C.: Brookings Institution Press.

O’Toole, Laurence J. & Meier, Kenneth J. (2004). Desperately seeking selznick: Cooptation and the dark side of public management in networks. Public Administration Review, 64 (6), 681-693.

Strakey, Paul. (1997). Network for development. IFRTD (The international forum for rural transport and development). London, UK: International.

Translated References

Department of Older Persons. (2017). Handbook of standard operations Center for Quality of Life Development and Career Promotion for the Elderly. Bangkok: Ministry of Social Development and Human Security.

Talad Kreab Municipality. (2023). Elderly database. N.P.

Piyakorn Whangmahaporn. (2013). Cooperation network in the management of the care signals project for the elderly of Sriracha Municipality, Chonburi province. Journal of Politics, Administration and Law, 5 (3), 19-55.

Weerasak Kruethep. (2007). Network: Working innovation of local administrative organizations. Bangkok: Sino design.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-09-12