ปัจจัยความสำเร็จในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงองค์การสู่ท้องถิ่นดิจิทัล กรณีศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
คำสำคัญ:
Keywords: digital local government policy; local government; success factorsบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาปัจจัยความสำเร็จในการขับเคลื่อนองค์การสู่ท้องถิ่นดิจิทัล และศึกษาการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่นภายหลังจากมีการพัฒนาท้องถิ่นดิจิทัล ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก บุคลากรท้องถิ่น และประชาชนผู้รับบริการ ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์แบบเปรียบเทียบระหว่างพื้นที่ เพื่อค้นหาแก่นสาระและอธิบายตามกรอบแนวคิดการวิจัย ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ทำให้ท้องถิ่นสามารถบรรลุเป้าหมายในการขับเคลื่อนท้องถิ่นดิจิทัลสำเร็จนั้น ประกอบด้วย ทัศนคติเชิงบวกและการเปิดใจยอมรับ การจัดสรรงบประมาณ โครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล ทักษะและความเชี่ยวชาญด้านดิจิทัลของบุคลากร การสื่อสารเชิงรุกเพื่อการยอมรับการให้บริการของประชาชน และภายหลังที่ท้องถิ่นได้นำนโยบายท้องถิ่นดิจิทัลไปปฏิบัติพบว่า การบริการสามารถตอบสนองผู้รับบริการได้อย่างรวดเร็ว ลดขั้นตอนการทำงาน แต่ยังพบว่าในบางท้องถิ่นยังประสบปัญหาด้านการทำงานซ้ำซ้อนมีรอยต่อที่ไม่สามารถจบกระบวนการได้อย่างเบ็ดเสร็จ
Downloads
References
ภาษาไทย
กฤชวรรธน์ โล่วัชรินทร์. (บรรณาธิการ). (2564). การบริหารภาครัฐโฉมใหม่ ในยุคแห่งความพลิกผัน
(พิมพ์ครั้งที่ 1). มหาวิทยาลัยขอนแก่น: คลังนานาวิทยา
นภัสรพี เดชางกูร. (2563). ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่าน
ระบบดิจิทัล ตามพระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล
พ.ศ. 2562. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 12(1), 346-360.
พระณัฐวุฒิ พันทะลี, สุขพัฒน์ อนนท์จารย์, อาทิตย์ แสงเฉวก และวีรนุช พรมจักร. (2565). ภาวะผู้นำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในยุคดิจิทัล. วารสารการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2(2), 75-86.
พระพิพิธพัชโรดม, พระสาโรจน์ ธมฺมสโร. (2562). การประชาสัมพันธ์กับการเมืองไทย, วารสาร มจร
เพชรบุรีปริทรรศน์, 2(1), 54-67.
สถาบันนวัตกรรมและธรรมาภิบาลข้อมูล. (2565). ไขข้อสงสัย! Digital Transformation คืออะไร และตัวอย่างในไทย. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2566, จาก
https://kku.world/igitalransformation
เทศบาลเมืองแม่เหียะ. (2565) ผลงานดีเด่นการบริหารองค์กร. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2566
จาก รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ https://kku.world/8fcjt
สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล. (2563). การเดินทางของ DGA เพื่อมุ่งสู่ Smart Nation
Smart Life ประเทศทันสมัย ชีวิตคนไทยก็ง่ายขึ้น. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2566
จาก https://www.dga.or.th/about-us/our-history/
สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล องค์การมหาชน. (2564). ปัจจัยความสำเร็จในการขับเคลื่อน
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ.2563-2565. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2566, จาก https://www.dga.or.th/document-sharing/infographic/61667/
สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล องค์การมหาชน. (2566). รายชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้าร่วมโครงการท้องถิ่นดิจิทัล (Digital Government Platform). สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2566,
สำนักงาน ก.พ. (2561). ทักษะด้านดิจิทัลพื้นฐานของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพื่อการปรับเปลี่ยน
เป็นรัฐบาลดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2566,
จาก https://www.ocsc.go.th/digital_skills2#gsc.tab=0
สุภาภรณ์ สีสุพรรณ์ และ อจิรภาส์ เพียรขุนทด. (2565). การปรับตัวเพื่อเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงเป็น
องค์กรดิจิทัลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น,
Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(8), 247-264.
อุบลกาญจน์ อมรสิน. (2565). การบริหารงบประมาณขององค์การปกครองท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี.
วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 5(2), 92-103.
Translated References
Grichawat Lowatcharin. (2021). A new look of public administration (1st Edition). Khon Kaen University.
Nabhasrabi Tejangkura.(2020).Some Observations on The Digital Public Administration and Services under The Digital Administration and Services act B.E. 2562. Academic Journal Phranakhon Rajabhat University, 12(1), 346-360.
PhraNatthawut Phanthali, Sukhapal Anonjarn, Artit Saengchawek, and Weeranucn Promjak. (2022). The Leadership of Local Government Organization in The Digital Era. Journal of local management and Development Pibulsongkram Rajabhat University, 2(2), 75-86.
Phraphiphitpatcharodom, Phra Saroj Thamasaro. (2019). Public Relations with Thai Politic, Journal of MCU Phetchaburi, 2(1), 54-67.
Data Innovation and Governance Institute. (2022). The Definition! of Digital Transformation and Examples in Thailand .
https://kku.world/igitalransformation
Maehia Town Municipality. (2022). achievements in the field of organizational
Management. https://kku.world/8fcjt
Digital Government Development Agency. (2020). The Journey of DGA for Smart Nation Smart Life, Modern Country Easier Life of Thai People. www.dga.or.th/about-us/our-history/
Digital Government Development Agency. (2021). Success Factors in Implementing
Digital Government Plan 2020-2022. https://www.dga.or.th/document-sharing/infographic/61667/
Digital Government Development Agency. (2023). The list of local governments participating in Digital Government Platform.https://www.dga.or.th/our-services/digital-platform-services/dga-digital-government-platform/list-local-government-organization/
Office of The Civil Service Commission (2017). Basic Digital Skills of Government Officials and Public Servants for Digital Government Transformation. www.ocsc.go.th/digital_skills2#gsc.tab=0
Supaporn Seesupun and Ajirapa Pienkhuntod. (2022).Adaptability to Digital Transformation of Local Administrative Organizations in Muang District of Khon Kaen Province, Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(8), 247-264.
Ubolkan Amornsyn. (2022). Budget Management of Local Administrative Organization Ubon Ratchathani Province, Journal of Interdisciplinary Innovation Review, 5(2), 92-103.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.