มุมมองและการปรับตัวของพนักงานในยุคดิจิตอลแบงก์กิ้ง

Main Article Content

มณฑล สรไกรกิติกูล
ภคพร เปลี่ยนไพโรจน์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงรูปแบบการให้บริการทางการเงินดิจิตอลของธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง รวมทั้งมุมมอง ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อการทำงาน และแนวทางในการปรับตัวของพนักงานที่ปฏิบัติงานในสาขา เพื่อทำความเข้าใจถึงมุมมองของพนักงาน และเป็นแนวทางในการบริหารจัดการ โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล จากเอกสารภายในธนาคาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) แบบกึ่งมีโครงสร้าง (Semi-structure Interview) จากผู้ให้ข้อมูล 3 กลุ่มตำแหน่ง ได้แก่ กลุ่มผู้จัดการสาขา กลุ่มเจ้าหน้าที่บริการลูกค้า (CSO.) และกลุ่มเจ้าหน้าที่การตลาด (MO.) ที่ปฏิบัติงานในสาขาของพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่


                   ผลการวิจัยพบว่า การบริการทางการเงินดิจิตอลช่วยอำนวยความสะดวก ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายให้แก่ผู้ใช้บริการ ซึ่งการเข้ามาของบริการทางการเงินดิจิตอลนี้ส่งผลให้ธนาคารมีการปรับเปลี่ยนนโยบายการดำเนินงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์และช่องทางบริการให้มีความหลากหลายและเชื่อมโยงกันมากขึ้น รวมทั้งการปรับลดจำนวนสาขาที่ให้บริการ เป็นผลให้พนักงานต้องปรับเปลี่ยนแนวทางในการทำงาน พัฒนาความรู้และทักษะในด้านต่างๆ รวมถึงด้านเทคโนโลยีดิจิตอล และการมีใบประกอบวิชาชีพเฉพาะด้าน เพื่อให้สามารถปรับตัวเข้ากับบริการทางการเงินดิจิตอล อีกทั้งเป็นการเตรียมพร้อมเพื่อเป็นที่ปรึกษาทางการเงินและการลงทุนให้กับลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

มณฑล สรไกรกิติกูล, Department of Organization, Entrepreneurship, and Human Resource Management.Thammasat Business School, Thammasat University2 Prachan Rd., Pranakorn, Bangkok 10200, Thailand

Thammasat Business School

Thammasart University

2 Prachan Road, Pranakorn, Bangkok 10200

References

เอกสารอ้างอิง
ฐาวรา หวังสมบูรณ์ดี. (2553). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการยอมรับอินเตอร์เน็ตแบงก์กิ้ง กรณีศึกษา
พนักงานธนาคารยูโอบี สำนักงานใหญ่. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา
การบริหารเทคโนโลยี, วิทยาลัยนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฐิติรัตน์ นุ่มน้อย (2554). การสื่อสารเพื่อการจัดการ การเปลี่ยนแปลงในองค์กร กรณีศึกษาธนาคาร
แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน). การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสื่อสารประยุกต์, คณะภาษาและการสื่อสาร, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ตลับลักขณ์ ธนดิษฐ์สุวรรณ. (2560). รู้และเข้าใจ...บริบทใหม่ระบบสถาบันการเงินยุค 4.0. industry
perspectives วิจัยกรุงศรี. 1-9. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2560, สืบค้นจาก https://
www.krungsri.com/bank/getmedia/367d598f-7779-48eb-95b0-41e0bebd4974/
THIP_07_Banking40_TH.aspx.
ธิติมา พัดลม และกุลเชษฐ์ มงคล. (2558). พฤติกรรมการตัดสินใจซื้ออาหารคลีนฟู้ดส์ผ่านสื่ออิเล็ก
ทรอนิกส์ ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 4(2), 6-21.
ประไพพิมพ์ สุธีวสินนนท์ และประสพชัย พสุนนท์. (2559). กลยุทธ์การเลือกตัวอย่างสำหรับการวิจัย
เชิงคุณภาพ. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 29(2), 31-48.
ปิยพงศ์ ตั้งจินตนาการ. (2559). สถาบันการเงินในยุคดิจิตอล. ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ ธุรกิจและเศรษฐกิจ
ฐานรากธนาคารออมสิน.
พัชรนันท์ กลั่นแก้ว. (2552). วิธีการปรับตัวขององค์กรรองรับความเปลี่ยนแปลง. วารสาร Quality Way,
15(138), 40-44.

ภัทราพรรณ แซ่ตั้ง และ ประสพชัย พสุนนท์. (2558). ความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงองค์กรและ
ความผูกพันต่อองค์กรกับความสุขในการทำงานของพนักงาน กรณีศึกษาธนาคารกรุงไทย
จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสาร Veridian E-Journal
Silpakorn University ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 8(3),
281-296.
วัชรากร ร่วมรักษ์. (2559). FinTech กับบทบาทสถาบันการเงินในยุค Digital. ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ
ธุรกิจและเศรษฐกิจฐานราก ธนาคารออมสิน.
วันชัย มีชาติ. (2556). พฤติกรรมการบริหารองค์กรสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิเชียร วิทยอุดม. (2547). พฤติกรรมองค์กร. กรุงเทพฯ: บริษัท ธีระฟิล์ม และ ไซเท็กซ์ จำกัด
วิศวะ การะเกตุ. (2559). การยอมรับเทคโนโลยีทางการเงินกรณีศึกษาการชาระเงินผ่านโทรศัพท์
มือถือบริบท Startup Financial Technology. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต,
สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี, วิทยาลัยนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วุฒิกร เที่ยงธรรม, กัญจนวลัย นนทแก้ว แฟร์รี่ และพรรัตน์ แสดงหาญ. (2556). บรรยากาศองค์กรกับ
พฤติกรรมการให้บริการของพนักงานโรงแรมในเขตพัทยาเหนือ จังหวัดชลบุรี. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2(2), 15-27.
สราวุฒิ โพธิ์ทัย. (2554). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการยอมรับเทคโนโลยีพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. การค้นคว้าอิสระวิทยา
ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี, วิทยาลัยนวัตกรรม, มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์.
สุทธิภรณ์ ตรึกตรอง. (2560). ความสามารถต่อการเปลี่ยนแปลงของพนักงานกับการดำเนินงานใน
องค์กรรัฐวิสาหกิจ. วารสารบริหารธุรกิจ, 40(155), 73-85.
สุภางค์ จันทวานิช. (2556). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุรีย์พร เชาวน์สนิทพรรณ. (2546). การสื่อสารย้อนกลับในกระบวนการเปลี่ยนแปลงการทำงาน
กรณีศึกษาประสิทธิภาพของระบบ RB Front ของธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชานิเทศศาสตร์ธุรกิจ, คณะนิเทศศาสตร์,
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.



Aminzadeh, Arezoo. (2009). Customer Acceptance and Bank Employee Perceptions of
Internet Banking. (Thesis of Master degree). Information Technology Management , The British University in Dubai.
Barcan, Laurentiu. (2012). Impact of Information Technology on the Implementation
of Change Management in Banking. Young Economists Journal/Revista Tinerilor Economisti, 9(19), 61-66.
Bryman, Alan. (2012). Social Research Methods. 4th ed. New York: Oxford University
Press Inc.
Cumming,T.G. and C.G. Worley,eds. (2005). Organ ization Development and Change,
8th ed. Thomson South-Western.
Davis, F. D. (1989). Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance
of Information Technology. MIS Quarterly, 13(3), 319-339.
Elsey, B. and Chaoprasert, C. (2004). Service Quality Improvement in Thai Retail
Banking and its Management Implications. ABAC Journal, 24(1), 47 – 66.
Lee , M.C. (2009). Factors influencing the adoption of Internet banking: An integration
of TAM and TPB with perceived risk and perceived benefit. Electronic Commerce Research and Applications, 8(3), 130-141.
Rogers, E. M. (1995). Diffusion of Innovations, 4th ed. New York: The Free Press
Venkatesh,V., and Davis, F. D. (2000). A theoretical extension of the technology
acceptance model: Four longitudinal field studies. Management Science,
46(2), 186-204.

รายการอ้างอิงภาษาไทยที่แปลเป็นภาษาอังกฤษ

Chantavanich, Supachai. (2013). Data analysis in qualitative research methods. Bangkok:
Chulalongkorn University.
Chowsanitphan, Sureeporn. (2003). A Study of Communication Feedback on the Change
inWorking Process: The Case of Efficiency of The RB Front System of Siam Commercial Bank Public Limited. (Thesis of Master degree). Business Communication Arts, Dhurakijpundit University.
Glankaew, Patcharanun. (2009). Adaptation of organization to change. Journal Quality
Way, 15 (138), 40-44.
Karaket, Wissawa. (2016). Fintech Adoption in Mobile Payment Startup Industry. (Thesis
ofMaster degree). College of Innovation, Science Technology Management, Thammasat University.
Meechart, Wanchai. (2013). Public Organization Management Behavior. 3rd ed.
Chulalongkorn University.
Numnoie, Dhitirat. (2012). Communication to facilitate Business Operation
Transformation in An Organization, the case study of Land and Houses Retail Bank Public Company Limited. (An Independent of Master degree). Applied Communication, Language and Communication, National Institute of Development Administration.
Patlom, Thitima and Mongkol, Kulchet. (2015). Consumers’ Behavior on Buying Clean
Food Via E-Commerce in Bangkok. Burapha Journal of Business Management,
4 (2), 6-21.
Polthai, Sarawut. (2011). The Study of Factors Influence Adoption E-Commerce
Technology for SMEs Owners. (An Independent of Master degree). College of Innovation, Science Technology Management, Thammasat University.
Ruamrak, Watcharakorn. (2016). FinTech on the role of financial institutions in the
digital age. Economic Research Center Business and Economy Foundations savings bank. 1-6. Retrieved November 24, 2017, from https://library.baac.
or.th/main/books_detail.php?id=0021779&types = summary & taps = 4.
Saethang, Phattrapan and Pasunon, Prasopchai. (2015). The Relationship of
Organizational Change and Employee Engagement and Employees’ Happiness
in Workplace. A case study of Krung Thai Bank Public Company Limited in Bangkok metropolitance and its suburbs. Veridian E-journal, Slipakorn University, 8(3), 281-296.
Sutheewasinnon, Prapaipim and Pasunon, Prasopchai. (2016). Sampling Strategies for
Qualitative Research. Parichart Journal, Thaksin University, 29(2), 31-48.
Tangjintanakarn, Piyapong. (2016). Digital Financial Institutions Economic. Economic
Research Center Business and Economy Foundations savings bank. 1-6. Retrieved November 24, 2017, from https://www.gsb.or.th/getattachment/8d
7a5d95-b808-49b4-a871-7f985f1f7d38/2IN_hotissue_Digital_bank_detail.aspx.
Thanaditsuwan, Talabluck. (2017). Know and Understand ... New Financial System
Context 4.0 Krungsri Research Perspectives. 1-9. Retrieved November 28, 2017, from https://www.krungsri.com/bank/getmedia/367d598f-7779-48eb-95b0-41e0bebd4974/THIP_07_Banking40_TH.aspx.
Theingtham, W., Ferry, N.K., & Sadangharn, P. (2013). Organizational Behavior and
Services of Staffs in the North Pattaya Hotels at Chonburi Province. Burapha Journal of Business Management, 2(2), 15-27.
Truktrong, Suthiporn. (2017). Capability to Change of Employee Regarding Operations
in State-Owned Enterprises. Journal of Business Administration, 40(155), 73-85.
Vitayaudom, Wichian. (2003). Organization Behavoir. Bangkok: Teera Film and Cytec
Co., Ltd.
Wangsomboondee, Thawara. (2010). Factors Affecting Internet Banking Technology
Acceptance : A Case Study of United Overseas Bank Employees in Bangkok Head Quarter. (An Independent of Master degree). College of Innovation, Science Technology Management, Thammasat University.