คุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่มีโครงสร้างการถือหุ้นแบบครอบครัว
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาโครงสร้างการถือหุ้นและความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างการถือหุ้นแบบครอบครัวกับคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มีโครงสร้างการถือหุ้นแบบครอบครัว ระหว่างปี พ.ศ. 2557 - 2559 จำนวน 470 บริษัท โดยบริษัทที่เข้าเงื่อนไขเป็นบริษัทที่มีโครงสร้างการถือหุ้นแบบครอบครัวจะต้องเป็นบริษัทที่มีสมาชิกในครอบครัวถือหุ้นเกินร้อยละ 25 และวัดคุณภาพกำไรจากความสัมพันธ์ระหว่างรายการกำไรและกระแสเงินสด คณะผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างการถือหุ้นแบบครอบครัวและคุณภาพกำไร
ผลการศึกษาพบว่าโครงสร้างการถือหุ้นแบบครอบครัวมีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพกำไรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.10 ซึ่งผลวิจัยดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าโครงสร้างการถือหุ้นแบบครอบครัวก่อให้เกิดแรงจูงใจในการจัดการกำไร ซึ่งส่งผลทำให้คุณภาพกำไรลดลง
Article Details
บทความที่จะตีพิมพ์เพื่อเผยแพร่ในวารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา จะต้องเป็นบทความที่ไม่เคยได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารอื่น ๆ ทั้งนี้ หากพบว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ ด้วยข้อคิดเห็นที่ปรากฏและแสดงในเนื้อหาบทความต่าง ๆ ให้ถือว่าเป็นความเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนบทความนั้น ๆ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใด ๆ ของคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา สำหรับในกรณีผู้ประสงค์จะนำข้อความในวารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา ไปเผยแพร่ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์
References
กังสดาล แก้วหานาม, ศิริลักษณ์ ศุทธชัย, และนภาพร ลิขิตวงศ์ขจร (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการที่ประเมินโดยสมาคมส่งเสริมกรรมการบริษัทไทยกับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารการจัดการมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 6(1), 52–62.
เกียรตินิยม คุณติสุข. (2552). ความระมัดระวังทางบัญชีกับลักษณะของผู้ถือหุ้นที่มีอํานาจในการควบคุม: หลักฐานเชิงประจักษ์จากประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์บัญชีดุษฎีบัณฑิต, ภาควิชาการบัญชี, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐชานนท์ โกมุทพุฒิพงศ์ (2557). การวัดคุณภาพกำไรเพื่อการวิเคราะห์หลักทรัพย์. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 36(139), 1-18.
ประไพพิศ สวัสดิรัมย์. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 10(1), 143-155.
พรอนงค์ บุษราตระกูล, จนัญญา เสถียรโชค, ณรงค์ฤทธิ์ อัศวเรืองพิภพ, สุนทรี เหล่าพัดจัน และศิรินุช อินละคร. (2559). โครงการพัฒนาฐานข้อมูลและงานวิจัยด้านธรรมาภิบาลในตลาดทุนไทยระหว่างตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
รสจรินทร์ กุลศรีสอน. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างผู้ถือหุ้นและคุณภาพกําไร.วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต, คณะบริหารธุรกิจ,มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วรวิทย์ เอื้อทรัพย์สกุล. (2552). ผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของการใช้เงินทุนโดยการก่อหนี้ (leverage) กับการตกแต่งกำไร : กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Becker, C.L., DeFond, M.L., Jiambalvo, J., & Subramanyam, K.R., (1998). The Effect of Audit Quality on Earnings Management. Contemporary accounting research, 15(1), 1-24.
Christie, A. A., & Zimmerman, J. L. (1994). Efficient and Opportunistic Choices of Accounting Procedures: Corporate Control Contests. The Accounting Review, 69(4), 539-566.
Dechow, P. M., Ge, W., & Schrand, C. (2010). Understanding Earnings Quality: A Review of The Proxies, Their Determinants and Their Consequences. Journal of Accounting and Economics, 50(2), 344-401.
DeFond, M. L., & Jiambalvo, J. (1993). Debt Covenant Violation and Manipulation of Accruals. Journal of Accounting and Economics, 17(1), 145-176.
Fan, J. P. H., & Wong, T. J. (2002). Corporate Ownership Structure and The Informativeness of Accounting Earnings in East Asia. Journal of Accounting and Economics, 33(3), 401-425.
Francis, J., Schipper, K., & Vincent, L. (2005). Earnings and Dividend Informativeness When Cash Flow Rights are Separated from Voting Rights. Journal of Accounting and Economics, 39(2), 329-360.
Gomes, A. (2000). Going Public Without Governance: Managerial Reputation Effects. The Journal of Finance, 55(2), 615-646.
Harris, T., Huh, E., & Fairfield, P. (2000). Gauging Profitability on The Road to Valuation. Strategy Report Global Valuation and Accounting. New York: Morgan Stanley.
Jensen, M. C., & Meckling, W. H. (1976). Theory of The Firm: Managerial Behavior, Agency Costs and Ownership Structure. Journal of Financial Economics, 3(4), 305-360.
Means, A. A. B., & Gardiner, C. (1968). The Modern Corporation and Private Property.
New York: Harcourt.
Morck, R., Shleifer, A., & Vishny, R. W. (1988). Management Ownership and Market Valuation: An Empirical Analysis. Journal of Financial Economics, 20(Supplement C), 293-315.
Palepu, K. G., Healy, P. M. & Bemard, V. L. (2000). Introduction to Business Analysis and Valuation. Boston: South-Westem College Publishing.
Penman, S. (2001). Financial Statement Analysis and Security Valuation. New York:
McGraw-Hill/lrwin.
Raj, D.. D. Hawkins, R. B., & Redlich, A. (2002). Quality of Earnings: Towards a 360 View of Reality. New York: Merrill Lynch.
Salim, D. (2016). Ownership Concentration, Family Control, and Auditor Choice: Evidence from An Emerging Market. Asian Review of Accounting, 24(1), 19-42.
Schipper, K., & Linda V. (2003). Earnings Quality. Accounting Horizons, 17(Supplement), 97-110.
Singhvi, S. S., & Desai, H. B. (1971). An Empirical Analysis of The Quality of Corporate Financial Disclosure. The Accounting Review, 46(1), 129-138.
Srivastava, A. (2014). Why Have Measures of Earnings Quality Changed Over Time? Journal of Accounting and Economics, 57(2), 196-217.
Velury, U., & Jenkins, D. S. (2006). Institutional Ownership and The Quality of Earnings. Journal of Business Research, 59(9), 1043-1051.
Wallace, R. S. O., Naser, K., & Mora, A. (1994). The Relationship Between The
Comprehensiveness of Corporate Annual Reports and Firm Characteristics in Spain. Accounting and Business Research, 25(97), 41-53.
Wang, D. (2006). Founding Family Ownership and Earnings Quality. Journal of Accounting Research, 44(3), 619-656.
Warfield, T. D., Wild, J. J., & Wild, K. L. (1995). Managerial Ownership, Accounting Choices, and Informativeness of Earnings. Journal of Accounting and Economics, 20(1), 61-91.
WorldBank. (1998). East Asia : The Road to Recovery. Washington, D.C. : The World Bank.
Zoysa, A.D., & Wijewardena, H. (2003). Financial Disclosure in The Corporate Annual Reports of Sri Lanka Companies. Asian-Pacific Conference on International Accounting, 22-25(10), 42 - 55.