แนวทางการพัฒนาการจัดการด้านสิ่งอำนวยความสะดวกภายในและนอก เขตการบิน ณ ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้โดยสารด้านสิ่งอำนวยความสะดวกภายในและนอกเขตการบินของท่าอากาศยาน 2) เพื่อประเมินศักยภาพของการจัดการด้านสิ่งอำนวยความสะดวกภายในและนอกเขตการบินของท่าอากาศยาน 3) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดการด้านสิ่งอำนวยความสะดวกภายในและนอกเขตการบินของท่าอากาศยาน การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้โดยสารสัญชาติไทยที่เดินทางโดยสายการบินต้นทุนต่ำ ณ ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา จำนวน 450 คน โดยใช้วิธีการการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ทดสอบ t-test และ F-Test
ผลการวิจัยพบว่า ผู้โดยสารมีระดับความคาดหวังด้านบุคลากรผู้ให้บริการด้านสิ่งอำนวยความสะดวกมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.63 ( = 3.63) และผู้โดยสารมีความพึงพอใจด้านโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.39 ( = 3.39) การทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยทางด้านอายุ ระดับการศึกษา อาชีพและรายได้ต่อเดือนส่งผลต่อระดับความคาดหวังที่แตกต่างกัน และปัจจัยทางด้านอายุและรายได้ต่อเดือนส่งผลต่อระดับความพึงพอใจของผู้โดยสารแตกต่างกันและจากการเปรียบเทียบระดับความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้โดยสาร พบว่า ระดับความคาดหวังของผู้โดยสารสูงกว่าระดับความ พึงพอใจ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในทุกด้าน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่จะตีพิมพ์เพื่อเผยแพร่ในวารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา จะต้องเป็นบทความที่ไม่เคยได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารอื่น ๆ ทั้งนี้ หากพบว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ ด้วยข้อคิดเห็นที่ปรากฏและแสดงในเนื้อหาบทความต่าง ๆ ให้ถือว่าเป็นความเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียนบทความนั้น ๆ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใด ๆ ของคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา สำหรับในกรณีผู้ประสงค์จะนำข้อความในวารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา ไปเผยแพร่ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์
References
กนกกาญจน์ ปานเปรม. (2557). แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการของท่าอากาศยานดอนเมือง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ), คณะการจัดการ การท่องเที่ยว, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
กรมการบินพลเรือน. (2556). รายงานผลสำรวจความต้องการ ความคาดหวัง ความพึงพอใจ และความเชื่อมั่นในคุณภาพการให้บริการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการให้บริการของกรมการบินพลเรือน ประจำปีงบประมาณ 2556, กรมการบินพลเรือน.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). สถิตินักท่องเที่ยวภายในประเทศ ปี 2560 (จำแนกตามภูมิภาคและจังหวัด). สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2562 สืบค้นจาก https://www.mots.go.th/more_news_new. php?cid=504.
เกื้อ วงศ์บุญสิน. (2547). ประชากรศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จิตตพัฒน์ พรหมพงษ์. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2548). การวางแผนและพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เฉลิมพล กิจรุ่งเรือง. (2553). ความพึ่งพอใจของผูโดยสารชาวไทยตอการบริการของทาอากาศยานสุวรรณภูมิกรุงเทพฯ. ภาคนิพนธหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (การตลาด),โครงการบัณฑิตศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
ชูเกียรติ เทมียะโก. (2551). แนวทางการพัฒนาการบริการของท่าอากาศยานแม่สอด. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต (ยุทธศาสตร์การพัฒนา), บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
ธนสิทธิ์ ปั้นประเสริฐ. (2543). ความพึงพอใจของผู้โดยสารคนไทยที่มีต่อการให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศ ของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะพัฒนาสังคม, สถาบันฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
วราพัณณ์ ถิระภิรมย์ไชย. (2555). ความคาดหวังและการรับรู้ของลูกค้าต่อการให้บริการของท่าอากาศยานดอนเมือง. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทั่วไป, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
วีระพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. (2539). คุณภาพในงานบริการ. กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย.
ศุภลักษณ์ อัครางกูร. (2555). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
สมเกียรติ นัยวิกุล. (2551). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการท่าอากาศยานนานาชาติอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการ, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
สมวงศ์ พงศ์สถาพร. (2547). การตลาดการบริการ. กรุงเทพฯ: ยูบีซีแอล บุ๊คส์.
สมิต สัชฌุกร. (2546). การต้อนรับและการบริการที่เป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: สายธาร.
สิทธิชัย ศรีเจริญประมง. (2556). แนวทางการพัฒนาการดำเนินการด้านทุนมนุษย์เพื่อพัฒนาคุณภาพการบริการของสายการบินในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ), คณะการจัดการการท่องเที่ยว, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สุทน ประกอบเพชร. (2548). ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน). ภาคนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การบริหารทั่วไป), บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
อริยาภรณ์ ตั้งศรีธนาวงศ์. (2558). การรับรู้คุณภาพการบริการท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมืองที่มีผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวนานาชาติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอธัส ฤกษ์ปฏิมา. (2551). คุณภาพการบริการของท่ากาศยานสุวรรณภูมิตามความคิดเห็นของผู้โดยสารชาวไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Seyanont, A. (2011). Passengers’ Perspective Toward Airport Service Quality at Suvarnabhumi International Airport. (Research reports) Department of Hotel and Tourism Management School of Business, University of the Thai Chamber of Commerce.
Bezerra, George C. L., & Gomes, Carlos F. (2016). Measuring Airport Service Quality: A Multidimensional Approach. Journal of Air Transport Management, 53(7),85-93 http://doi:10.1016/j.jairtraman.2016.02.001.
Bogicevic, V., Yang, W., Bilgihan, A., & Bujisic, M. (2013), "Airport service quality drivers of passenger satisfaction", Tourism Review, 68(4), 3-18. https://doi.org/10.1108/TR-09-2013-0047.
Fodness, D., & Murray, B. (2007). Passengers' expectations of airport service quality. Journal of Services Marketing. 21(7),492-506. https://doi:10.1108/08876040710824852.
Grönroos, C. (1984), A Service Quality Model and its Marketing Implications, European Journal of Marketing, 18(4), 36-44. https://doi.org/10.1108/EUM0000000004784.
Gronroos, G. T. (1990). Service management and marketing. Massachusetts: Lexington Books.
Halpern, N., & Graham, A. (2013). Airport Marketing. London: Routledge.
Hong, S. J., Choi, D., & Chae, J. (2020). Exploring different airport users’ service quality satisfaction between service providers and air travelers. Journal of Retailing and Consumer Services, 52. January 2020), 101917. https://doi.org/10.1016/j.jretconser.2019.101917.
Jen, W., Lu, M. L., Hsieh, E., Wu, Y., & Chan, S. (2013). Effects of Airport Servicescape on Passengers’ Satisfaction: A Hierarchical Approach and Importance-Performance Analysis. Journal of The Eastern Asia Society for Transportation Studies, 10(2013), 2223-2234. https://doi.org/10.11175/easts.10.2223.
Kim, C., Lee, K., & Costello, F. (2020). The Intention of Passengers Towards Repeat Use of Biometric Security for Sustainable Airport Management. Sustainability, 12(11), 4528. https://doi.org/10.3390/su12114528.
Kuo, S. Y., & Chen, S. C. (2015). Passengers' perspective toward airport service quality: The comparison between TPE and TSA. Journal of Aeronautics, Astronautics and Aviation, 47(3), 335 – 342. https://doi:10.6125/15-0326-845.
Kratudnak, S., & Tippayawong, K. Y. (2018). Analysis of Key Factors for Airport Service Quality: A Case Study of Three Regional Airports in Thailand. International Conference on Industrial Engineering and Operations Management, (pp.1773-1782). Chiang Mai University.
Leo, J. G., & Lawler, J. P. (2011). A Study Of Passenger Perception And Sensitivity To Airport Backscatter X-Ray Technologies. International Business & Economics Research Journal, 6(7), 11-18. https://doi.org/10.19030/iber.v6i7.3381.
Merkle, M. (2019). Customer Responses to Service Robots – Comparing Human-Robot Interaction with Human-Human Interaction. Proceedings of the (52nd) Hawaii International Conference on System Sciences 2019. (pp. 1396-1405). University of Hawaii System.
Norman, J. A., Stanton, H. P., Clifton, A. M., Coutu, P., & Beasley, J.R. (2013). Airport Operations. (3rd ed.). New York: McGraw-Hill Education.
Skytrax. (2019). World Airport Awards Concept and Principle. Retrived November 22, 2021 from https://www.worldairportawards.com/.
Sohail, M. S., & Al-Gahtani, Abdulwahab. (2005). Measuring service quality at King Fahd International Airport. International Journal of Services and Standards, 1(4), 482-493. https://doi.org/10.1504/IJSS.2005.007473
Yamane, T. (1967). Statistics: An Introductory Analysis. New York: Harper and Row.
Vedanthu, A., Vishwanath, R., & Vanishree. (2018). Airport Planning and Management Systems. International Journal of Recent Scientific Research, 9(10), 29106-29110. http://dx.doi.org/ 10.24327/ijrsr.2018.0910.2792.
Widarsyah, R. (2013). The Impact of Airport Service Quality Dimension on Overall Airport Experience and Impression. Thesis, Master of Health Administration, Graduate College, University of Nevada.
Wiredja, D., Popovic, V., & Blackler, A. (2015). Questionnaire Design for Airport Passenger Experience Survey. IASDR 2015 INTERPLAY (pp.1-16). International Association of Societies of Design Research.
Zeithaml, V. A., Parasuraman, A., & Berry, L. L. (1990). Delivering quality service: Balancing customer perceptions and expectations. New York: Free Pres.