การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา เพื่อเสริมสร้างความมีวินัยในตนเองสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

Main Article Content

พระมหากิตติพัฒน์ ศรีชัย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อการเสริมสร้างความมีวินัยในตนเองสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา ประชากรในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 168 รูป กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนปริยัติธีรวิทยา จำนวน 30 รูป ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) การประเมินการเสริมสร้างความมีวินัยในตนเอง 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ3) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการประเมินการเสริมสร้างความมีวินัยในตนเอง โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด (gif.latex?\bar{x} = 4.51, S.D. = 0.93) 2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ3) ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( gif.latex?\bar{x}= 4.53, S.D. = 0.84)

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

พระมหากิตติพัฒน์ ศรีชัย, ครูโรงเรียนปริยัติธีรวิทยา

-

References

กนกอร ติ๊บหลาน. (2554). การใช้กิจกรรมที่สอดแทรกแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา เพื่อพัฒนาความมีวินัยในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. ปริญญานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,ชียงใหม่.

กิตติพัฒน์ ศรีชัย และมนตรี วงษ์สะพาน. (2565). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขา ร่วมกับแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะของความเป็นพลเมืองดี สำหรับนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ. ปริญญานิพนธ์ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

กุลิสรา จิตรชญาวณิช. (2566). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา เพื่อเสริมสร้างจิตวิญญาณความเป็นครูสำหรับนักศึกษาครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารบัณฑิตวิจัย, 14(2), 1-17.

จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร. (2553). จิตตปัญญศึกษา : การเรียนรู้สู่จิตสำนึกใหม่. กรุงเทพฯ : แปลนพริ้นติ้ง.

จุฑามณี เสาระโสและทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญ. (2560). การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความมีวินัยในตนเองตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา สำหรับนักเรียนที่บกพร่องทางสติปัญญาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนกาฬสินธุ์ปัญญานุกูล จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 23(2), 64-72.

ณัฏฐโภคิณ ภูริวัฒนภูวดล และปริญญภาษ สีทอง. (2564). การพัฒนาหลักสูตรหลักสูตรส่งเสริมการเห็น คุณค่าในตนเองตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. สิกขาวารสาร ศึกษาศาสตร์, 8(1), 24-33.

ณัฐฬส วังวิญญู. (2552). สรุปความรู้จากการอบรม “ภาวะผู้นำทางจิตตปัญญาศึกษาสู่มหาวิทยาลัย” หลักสูตรที่ 1 : การเรียนรู้ด้วยหัวใจที่ใคร่ครวญ (Contemplative Education). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

นันท์มนัส รอดทัศนา. (2554). การจัดทำคู่มือจัดกิจกรรมพัฒนาความมีวินัยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศบางบอน. ปริญญานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

บุญชม ศรีสะอาด. (2555). “วินัยในตนเองและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง”. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 17(1) : 3-9.

ประเวศ วะสี. (2550). มหาวิทยาลัยกับจิตตปัญญาศึกษาและไตรยางค์แห่งการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลและแผนงานพัฒนาจิตเพื่อสุขภาพ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

มนตรี วงษ์สะพาน. (2563). พื้นฐานการวิจัยทางหลักสูตรและการสอน. มหาสารคาม : สารคามการพิมพ์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2552). วินัย : เรื่องใหญ่กว่าที่คิด. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: พิมพ์สวย.

วิเชียร ไชยบัง. (2561). จิตศึกษาพัฒนาปัญญาภายใน. พิมพ์ครั้งที่ 5. บุรีรัมย์: โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา.

สายัณห์ วงศ์สุรินทร์, บุญเรือง ศรีเหรัญ และชาตรี เกิดธรรม. (2557). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา เพื่อพัฒนาความมีวินัยของนักเรียนมัธยมศึกษา. วารสารครุศาสตร์ อุตสาหกรรม, 13(3), 74-82.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

ศรชัย เกษมสุข. (2564). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างวินัยในตนเองของนักเรียน โรงเรียนบางเลนวิทยา. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยคริสเตียน,นครปฐม.

ศิรประภา พฤทธิกุล. (2554). การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวจิตตปัญญาศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐาน ของนิสิตสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 22(2), 72-84.

Bear, G. G. (2010). School Discipline and Self-Discipline: A Practical Guide to Promoting Proso-cial Student Behavior. Guilford Press.

Cazan, A. M. (2012). Self-Regulated Learning Strategies–Predictors of Academic Adjustment.

Procedia-Social And Behavioral Sciences, 33, 104-108.

Duckworth, A. L., & Seligman, M. E. (2005). Self-Discipline Outdoes IQ in Predicting Academic Performance of Adolescents. Psychological Science, 16(12), 939-944.

Hart, T. (2004). Opening the Contemplative Mind in the Classroom. Journal of Transforma-tive Education, 2(1), 28-46.

Lewis, R., Romi, S., Qui, X., & Katz, Y. J. (2005). Teachers’ Classroom Discipline and Student Misbehavior in Australia, China and Israel. Teaching and Teacher Education, 21(6),

-741.