รัฐที่ไร้ศาสนาประจำชาติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
รัฐธรรมนูญสหรัฐฯ ได้กำหนดห้ามมิให้มีศาสนาประจำชาติหรือห้ามมิให้รัฐให้การสนับสนุนต่อศาสนาใดศาสนาหนึ่งเป็นพิเศษ การเกิดขึ้นและการดำรงอยู่ของลัทธิความเชื่อต่างๆ จึงต้องดำเนินไปด้วยการอาศัยทรัพยากรของตนเอง สภาวะเช่นนี้ทำให้เกิด “พหุนิยมทางศาสนา” โดยไม่มีศาสนาใดจะได้รับอภิสิทธิ์ต่างจากศาสนาอื่น และองค์กรของลัทธิความเชื่อ/ศาสนาต่างต้องแข่งขันกันในการแสวงหาทรัพยากรเพื่อสนับสนุนกิจกรรมของตน
บทบัญญัติเรื่องพหุนิยมทางศาสนาในสหรัฐฯ มีผลกระทบอย่างสำคัญต่อกิจกรรมทางศาสนาขององค์กรด้านศาสนา ศาสนาที่จะดำรงอยู่ได้จำเป็นต้องทำให้ผู้คนเห็นด้วยและเข้าร่วมกับศาสนาของตน ในขณะเดียวกัน การมีส่วนร่วมในศาสนาต่างๆ ก็เป็นต้นทุนทางสังคมประเภทหนึ่งที่เป็นประโยชน์ต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทั้งยังเป็นพื้นที่สำหรับการเรียนรู้ของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยได้อีกด้วย
Article Details
O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)
O กองบรรณาธิการ CMU Journal of Law and Social Sciences ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
2.อเล็กซิส เดอะ ต๊อกเกอะวิลล์. (2522). ประชาธิปไตยในอเมริกา เล่ม 1. แปลโดย วิภาวรรณ ตุวยานนท์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์.
3.Americans United for Separation of Church and State. (N.d.). Is America A Christian Nation? Religion, Government and Religious Freedom. Retrieved October 1,2017, from https://www.au.org/resources/publications/is-america-a-christian-nation
4.Ted G. Jelen. (2007). The Constitutional Basis of Religious Pluralism in the United States: Causes and Consequences. Retrieved October 1,2017, from http://journals.sagepub.com/doi/abs/10.1177/0002716207301176
5.Ted G. Jelen and Marthe A. Chandler. Westport (edi). (1994). Abortion Politics in the United States and Canada studies in public opinion. Connecticut: Praeger.
6.The National Conference of Catholic Bishops. (1983). The Challenge of Peace: God’s Promise and Our Response A Pastoral Letter on War and Peace. Retrieved October 1,2017, from http://www.usccb.org/upload/challenge-peace-gods-promise-our-response-1983.pdf
Translated Thai References
7.Jayanama Pairoj. (1954). Textbook on Comparative constitution Volume I:Introduction and General Principle of Constitutional Law. Thammasart University.
8.Alexis de Tocqueville. (1979). Democracy in America Volume I (translated by Vipawan Tuwayanont). Bangkok: The Foundation for the Promotion of Social Sciences and Humanities Textbooks Project