ระบอบเผด็จการอยู่รอดได้อย่างไร: บทบาทของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2557 – 2562
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ศึกษาบทบาทของสถาบันการเมืองแบบประชาธิปไตยในระบอบเผด็จการ หรือ สถาบันการเมืองอำนาจนิยมอย่างสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ระหว่าง พ.ศ. 2557 – 2562 ว่ามีส่วนช่วยให้ระบอบเผด็จการคณะรักษาความสงบแห่งชาติอยู่รอดได้อย่างไร จากผลการศึกษาพบว่าสภานิติบัญญัติแห่งชาติช่วยทำให้ระบอบคณะรักษาความสงบแห่งชาติอยู่รอดด้วยเหตุผลสามประการ ประการที่ 1 คณะรักษาความสงบแห่งชาติเลือกให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นสถาบันการเมืองแบบกระชับอำนาจเพื่อให้รัฐบาล คสช. มีเสถียรภาพ ประการที่ 2 บทบาทสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นพื้นที่ประนีประนอมและลดความขัดแย้งภายในชนชั้นนำที่ประกอบอยู่ในสถาบันทางการเมืองต่างๆ เป็นพื้นที่จัดสรรอำนาจให้กับเครือข่ายที่สนับสนุนและคัดกรองบุคคลที่อาจจะเข้ามาสร้างความปั่นป่วนภายในระบอบ และประการที่ 3 เมื่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติต้องเผชิญความท้าทายที่อาจต้องสูญเสียอำนาจในอนาคตสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำหน้าที่ในการออกกฎหมายต่างๆ ถอดถอนนักการเมืองฝ่ายตรงข้ามเพื่อให้ระบอบคณะรักษาความสงบแห่งชาติยังคงดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงหลังการเลือกตั้ง
Article Details
O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)
O กองบรรณาธิการ CMU Journal of Law and Social Sciences ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
Boix, Carles, and Milan W. Svolik. “The Foundations of Limited Authoritarian Government: Institution, Commitment, and Power-Sharing in Dictatorships.” The Journal of Politics 75, No. 2 (2013): 300-316.
Gandhi, Jennifer, and Adam Przeworski, “Authoritarian Institutions and Survival of Autocrats,” Comparative political Studies 40, no. 11 (September 17, 2007). 1279-1301.
Gandhi, Jennifer. Political Institutions Under Dictatorship. New York: Cambridge Press, 2008.
iLaw. “คนหน้าซ้ำเตรียมรับงานใหม่ ในโรดแมปการร่างยุทธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูป.” iLaw. สืบค้นเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2563. https://ilaw.or.th/node/4562.
iLaw. “ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?.” iLaw. สืบค้นเมื่อเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563. https://ilaw.or.th/node/4251.
iLaw. “รายงาน: พ.ร.บ.ประชามติฯ กับความไม่เป็นธรรมที่ยังไร้คนรับผิด(ชอบ).” iLaw, สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2562. https://ilaw.or.th/node/4287.
iLaw. “รายงานหนึ่งปี สนช. 2/3: การแต่งตั้ง-ถอดถอน.” iLaw. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563. https://ilaw.or.th/node/3798.
iLaw. “เลือกตั้งช้าไป ใครสั่ง ....” iLaw. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563. https://ilaw.or.th/node/4781.
iLaw. “สี่ปี คสช. ใช้มาตรา44 + สนช. เข้ายึดองค์กรอิสระได้เบ็ดเสร็จตามใจ.” iLaw. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563. https://ilaw.or.th/node/4808.
Lagace, Clara Boulianne, and Jennifer Gandhi. Routledge Handbook of Comparative Political Institutions. Edited by Jennifer Gandhi and Ruben Ruiz-Rufino. New York: Routledge, 2015.
ณรงค์ พ่วงพิศ และสุรวุฒิ ปัดไธสง. อำนาจหน้าที่และบทบาทของสมาชิกรัฐสภาไทยที่มาจากการแต่งตั้ง. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2542.
ดาสินี มาลัยพงษ์. “บทบาทของรัฐสภาไทยในการตรากฎหมาย: ศึกษากระบวนการนิติบัญญัติไทยช่วง พ.ศ.2507-2516.” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชานิติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
ธราวุฒิ สิริผดุงชัย. “ระบบสภาเดี่ยว: ทางเลือกของระบบรัฐสภาไทย.” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, สาขากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554.
ธีรภัทร เสรีรังสรรค์. รายงานวิจัย เรื่อง รูปแบบรัฐบาลในระบบรัฐสภาไทย ระหว่าง พ.ศ. 2518-2539. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
บรรลือ สุรินทร์ศิริรัฐ. “บทบาทของสมาชิกรัฐสภาที่เป็นข้าราชการประจำ: ศึกษาเฉพาะกรณีสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน.” วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, แผนกวิชาการปกครอง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524.
บีบีซีไทย. “เส้นทางการแต่งตั้งสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 20.” บีบีซีไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2563. https://www.bbc.com/thai/thailand-38905450.
ประจักษ์ ก้องกีรติ และวีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร. “ระบอบประยุทธ์ การสร้างรัฐทหารและทุนนิยมแบบช่วงชั้น.” ฟ้าเดียวกัน, 16. ฉ.2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561): 7-41.
ผู้จัดการออนไลน์. “พลเมืองเน็ต ยื่น 3 แสนชื่อ เสนอ สนช.ทบทวนร่าง กม.คอมพิวเตอร์.” ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นเมื่อเมื่อ 19 พฤษภาคม 2563. https://mgronline.com/politics/detail/9590000124708.
ผู้จัดการออนไลน์. “สนช.ตีตก5ว่าที่กก.สิทธิฯ ผิดคาด-พิสูจน์ยากการเมืองแทรก.” ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563. https://mgronline.com/daily/detail/9610000128701.
โพสต์ทูเดย์. “สนช.รับไม่แน่ใจมีอำนาจถอดสมศักดิ์-นิคมหรือไม่.” โพสต์ทูเดย์. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2563. https://www.posttoday.com/politic/324504.
มติชนออนไลน์. “นายกฯ ลั่น พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์จำเป็น สกัดกั้นข้อมูลด้านลบ-เว็บหมิ่นสถาบัน.” มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2563. https://www.matichon.co.th/politics/news_395145.
ไมตรี วิริยะ. “รัฐสภาไทย: การวิเคราะห์เปรียบเทียบบทบาทของสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2518 กับ 2519 กับสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน พ.ศ. 2519.” วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, แผนกวิชาการปกครอง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522.
ยุทธวัฒน์ ภัทราภานุภัทร. “รัฐสภาไทย: วิเคราะห์เปรียบเทียบภูมิหลังของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พุทธศักราช 2516 กับสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน พุทธศักราช 2519.” วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, แผนกวิชาการปกครอง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520.
สุจิต บุญบงการ. บทบาทของสภานิติบัญญัติ. กรุงเทพฯ: เจ้าพระยาการพิมพ์, 2526.
สุชาติ พันชี. “บทบาทของรัฐสภาไทยในการตรากฎหมาย: ศึกษากระบวนการนิติบัญญัติไทยในยุคจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ (พ.ศ.2500 - 2506).” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชานิติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
อภิชาต สถิตนิรามัย และคณะ. รายงานวิจัยทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย. เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556.
อรรถสิทธิ์ พานแก้ว และคณะ. จุด (ไม่) จบ : ช่วงฉากการเมืองไทย 48-59. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2559.