สถาบันอยุติธรรมที่ดำรงอยู่ในสังคมไทยกับการบดบังสถาบันทางกฎหมาย ของรัฐไทย

Main Article Content

ทศพล ทรรศนกุลพันธ์

บทคัดย่อ

การพัฒนารัฐที่ใช้กฎหมายเป็นหลักประกันสิทธิมนุษยชนของประชาชนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพลเมืองในประเด็นสาธารณะของผู้ตื่นตัวทางการเมืองในลักษณะ “นิติรัฐอย่างเป็นทางการ” แตกต่างจากความสัมพันธ์ทางอำนาจแบบ “ไม่เป็นทางการ” ที่รัฐอาจหลีกเลี่ยงการใช้อำนาจปกครองภายใต้กรอบของกฎหมายเพื่อประกันสิทธิเสรีภาพตามกฎหมายของประชาชนอย่างเสมอภาค บทความวิจัยนี้วิเคราะห์บทบาทของรัฐบาลไทยในการไม่บังคับใช้กฎหมายเพื่อประกันสิทธิของประชาชนเนื่องจากมีสถาบันไม่เป็นทางการขัดขวางอยู่ โดยจะชี้ให้เห็นความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่าง กลุ่มทุน เจ้าพนักงานของรัฐ ผู้มีอิทธิพล และนักการเมือง ซึ่งขัดขวางการบังคับใช้กฎหมายอย่างเสมอภาคและการเยียวยาสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นธรรมเมื่อ ผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชนใช้เสรีภาพในการแสดงออก ชุมนุม และสมาคม อันนำไปสู่การบั่นทอนความเชื่อมั่นของประชาชนในสถาบันทางกฎหมายอย่างเป็นทางการของรัฐไทย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Eguren, Enrique. Protection Manual for Human Rights Defenders. in Peace Brigades International, European Office. Blackrock: Front Line the International Foundation for the Protection of Human Rights Defender, 2005.

Helmke, Gretchen, and Steven Levitsky. Informal Institutions and Democracy Lessons from Latin America. Baltimore: Johns Hopkins University Press, 2006.

United Nations. General Assembly. Declaration on the Right and Responsibility of Individuals. Groups and Organs of Society to Promote and Protect Universally Recognized Human Rights and Fundamental Freedoms. adopted by the General Assembly. 8 March 1999. A/RES/53/144, available at: https://www.refworld.org/docid/3b00f54c14.html (accessed 22 May 2022).

United Nations. Fact Sheet No. 29. Human Rights Defenders: Protecting the Right to Defend Human Rights. Geneva: Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights, 2004. available at: https://www.refworld.org/docid/479477470.html (accessed 22 May 2022).

บทสัมภาษณ์

ผู้ให้สัมภาษณ์แหล่งที่ 1 – 10 , สัมภาษณ์โดย ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, 20 -30 ตุลาคม 2564.

ผู้ให้สัมภาษณ์แหล่งที่ 1, สัมภาษณ์โดย ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, 20 ตุลาคม 2564.

ผู้ให้สัมภาษณ์แหล่งที่ 2, สัมภาษณ์โดย ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, 20 ตุลาคม 2564.

ผู้ให้สัมภาษณ์แหล่งที่ 3, สัมภาษณ์โดย ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, 20 ตุลาคม 2564.

ผู้ให้สัมภาษณ์แหล่งที่ 4, สัมภาษณ์โดย ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, 21 ตุลาคม 2564.

ผู้ให้สัมภาษณ์แหล่งที่ 5, สัมภาษณ์โดย ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, 23 ตุลาคม 2564.

ผู้ให้สัมภาษณ์แหล่งที่ 6, สัมภาษณ์โดย ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, 24 ตุลาคม 2564.

ผู้ให้สัมภาษณ์แหล่งที่ 7, สัมภาษณ์โดย ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, 25 ตุลาคม 2564.

ผู้ให้สัมภาษณ์แหล่งที่ 8, สัมภาษณ์โดย ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, 25 ตุลาคม 2564.

ผู้ให้สัมภาษณ์แหล่งที่ 9, สัมภาษณ์โดย ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, 25 ตุลาคม 2564.

ผู้ให้สัมภาษณ์แหล่งที่ 10, สัมภาษณ์โดย ทศพล ทรรศนกุลพันธ์, 30 ตุลาคม 2564.