ราชการในพระองค์ตามพระราชอัธยาศัยในสมัยรัชกาลที่ 10
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งศึกษาถึงพระราชอำนาจในการจัดระเบียบราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ภายหลังการขึ้นครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว จากการศึกษาพบว่าพระราชอำนาจดังกล่าวตั้งอยู่บนฐานของกฎหมายสามลำดับชั้น ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการในพระองค์ พ.ศ. 2560 และพระราชกฤษฎีกาจัดระเบียบราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ พ.ศ. 2560 พระราชอำนาจเช่นว่านี้มีลักษณะสำคัญสามประการ คือ พระมหากษัตริย์ทรงใช้พระราชอำนาจได้ตามพระราชอัธยาศัย ส่วนราชการในพระองค์ขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริย์ และการแต่งตั้งตลอดจนการให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่งกระทำในรูปของพระบรมราชโองการที่ไม่มีผู้ลงนามรับสนอง ทั้งนี้ ปัญหาสำคัญสามประการที่บทความนี้จะวิเคราะห์ด้วย คือ การตรวจสอบการใช้พระราชอำนาจ สถานะทางกฎหมายของส่วนราชการและข้าราชการในพระองค์ ตลอดจนความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของพระบรมราชโองการที่ไม่มีผู้ลงนามรับสนอง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution 4.0 International License.
O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)
O กองบรรณาธิการ CMU Journal of Law and Social Sciences ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ. ความมุ่งหมายและคำอธิบายประกอบรายมาตราของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2562.
คำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร สาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการบังคับใช้กฎหมาย ที่ สค 39/2566 เรื่อง อุทธรณ์คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเกี่ยวกับเอกสารการประชุมคณะกรรมการกฤษฎีกา สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2566. www.oic.go.th/FILEWEB/CABIWEBSITE/DRAWER01/GENERAL/DATA0041/00041323.PDF.
ชาญชัย แสวงศักดิ์. รัฐและนิติบุคคลมหาชน. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2561.
ทีมข่าวการเมือง. “112 ฉบับ ที่ไม่มี ‘ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ’: ตั้งปลดทหาร-ข้าราชการในพระองค์ สมณศักดิ์พระ จัดการทรัพย์สิน จนถึงการเมือง.” ประชาไท. สืบค้นเมื่อ 13 มกราคม 2566. https://prachatai. com/journal/2021/09/95103.
ไทย. รัฐสภา. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ. รายงานการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ. ครั้งที่ 60, 11 มกราคม 2559.
ธงทอง จันทรางศุ. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เรื่อง พระมหากษัตริย์. นนทบุรี: วิทยาลัยการเมืองการปกครอง, 2552.
บวรศักดิ์ อุวรร ณโณ. คำอธิบายวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2563. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2563.
บันทึกการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ 26/2560 วันที่ 20 เมษายน 2560. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2565 https://www.senate.go.th/document/mRecordM /Ext34/34277_0001.PDF?v=221128085 601.
ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 132 ตอนพิเศษ 239 ง (5 ตุลาคม 2558): 1-2.
ประกาศสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เรื่อง อัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอนที่ 102 ก (1 ธันวาคม 2559): 1.
ประกาศส่วนราชการในพระองค์ เรื่อง การโอนกิจการ อำนาจหน้าที่ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้สิน ภาระผูกพัน เงินงบประมาณ อัตรากำลัง หรือตำแหน่งและอัตราเงินเดือน รวมทั้งข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง และผู้ปฏิบัติงานอื่น ของส่วนราชการต่าง ๆ ไปเป็นของส่วนราชการในพระองค์, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนพิเศษ 195 ง (31 กรกฎาคม 2560): 23-24.
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการพลเรือนในพระองค์, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนพิเศษ 23 ง (22 มกราคม 2560): 24.
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้ข้าราชการพลเรือนในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอนพิเศษ 25 ง (28 มกราคม 2559): 1.
พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร, ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 74 ตอนที่ 76 (16 กันยายน 2500): 1.
พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ, ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 108 ตอนที่ 36 (26 กุมภาพันธ์ 2534): 1.
พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งองคมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 138 ตอนพิเศษ 66 ง (24 มีนาคม 2564): 1.
พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง แต่งตั้งองคมนตรี, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 139 ตอนพิเศษ 252 ง (22 ตุลาคม 2565): 1.
พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง ให้ข้าราชการในพระองค์ฝ่ายทหารพ้นจากตำแหน่ง ถอดฐานันดรศักดิ์ และยศทหาร ตลอดจนเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุกชั้นตรา, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอนที่ 55 ข (21 ตุลาคม 2562): 1-2.
พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง ให้รับโอนข้าราชการฝ่ายอัยการเป็นข้าราชการในพระองค์ฝ่ายทหารและพระราชทานพระยศทหาร, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 138 ตอนพิเศษ 25 ง (3 กุมภาพันธ์ 2564): 1.
พระราชกฤษฎีกาจัดระเบียบราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ พ.ศ. 2560, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนที่ 51 ก (10 พฤษภาคม 2560): 1-8.
พระราชกฤษฎีกาจัดระเบียบราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 139 ตอนที่ 8 ก (26 มกราคม 2565): 3.
พระราชกำหนดโอนอัตรากำลังพลและงบประมาณบางส่วนของกองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม ไปเป็นของหน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ ซึ่งเป็นส่วนราชการในพระองค์ พ.ศ. 2562, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอนที่ 103 ก (30 กันยายน 2562): 1-3.
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการในพระองค์ พ.ศ. 2560, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนที่ 48 ก (1 พฤษภาคม 2560): 1-5.
พระราชหัตถเลขา เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ทำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 138 ตอนพิเศษ 8 ง (11 มกราคม 2564): 1-3.
พระราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งข้าราชการในพระองค์, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนพิเศษ 150 ง (6 มิถุนายน 2560): 1-2.
ไพโรจน์ ชัยนาม. คำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ (โดยสังเขป) เล่ม 2 กฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศไทย ตอนที่ 1. พระนคร: โรงพิมพ์อักษรนิติ, 2495.
มีชัย ฤชุพันธุ์. “บันทึกไว้กันลืม.” ใน ความในใจของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ 2560. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2561.
ระเบียบส่วนราชการในพระองค์ ว่าด้วยการใช้ การเชิญ การแสดงธงพระอิสริยยศ และการถวายความเคารพโดยใช้ธงชัยเฉลิมพล พ.ศ. 2562, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอนพิเศษ 117 ง (10 พฤษภาคม 2562): 2-12.
ระเบียบสำนักพระราชวังว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2541, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 186 ง (8 ธันวาคม 2551): 1-5.
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2566 https://cdc.parliament.go.th/ draftconstitution2/ewt_dl_link.php?nid=429& filename=index.
วจนา วรรลยางกูร. ““จุดไฟแล้วส่งต่อ อย่าให้ดับ” วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ในวันที่ต้องยอมรับว่าการเปลี่ยนแปลงใช้เวลามากกว่าที่คิด.” The 101.World. สืบค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2566 https://www.the101.world/ worachet-pakeerut-interview/.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. คำสอนว่าด้วยรัฐและหลักกฎหมายมหาชน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: อ่านกฎหมาย, 2564.
วิษณุ เครืองาม. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ, 2530.
วิษณุ เครืองาม. ลงเรือแป๊ะ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: มติชน, 2562.
สมชาย ปรีชาศิลปกุล. นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง: ข้อถกเถียงว่าด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ในองค์กรจัดทำรัฐธรรมนูญของไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2550. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2561.
สมภพ โหตระกิตย์. กฎหมายรัฐธรรมนูญ ภาค 2. พระนคร: น่ำเซียการพิมพ์, 2512.
สิทธิกร ศักดิ์แสง และ อภิรดี กิตติสิทโธ. ปัญหาสถานะและลำดับชั้นทางกฎหมายภายใต้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560: กรณีศึกษาพระราชกฤษฎีกา. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2563.
หยุด แสงอุทัย. คำบรรยายกฎหมายรัฐธรรมนูญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. พระนคร: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2515.