หลักการและความเป็นจริงในศาล: การเรียนรู้ผ่านการสังเกตการณ์กระบวนการพิจารณาคดี Learning through Trial Observation: Principles and Practice

Main Article Content

ดามร คำไตรย์

บทคัดย่อ

การศึกษากระบวนการพิจารณาในชั้นศาล จากมุมมองที่นอกเหนือจาก การศึกษาผ่านตัวบทกฎหมายหลักนั้น ยังมีอยู่อย่างจำกัด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บทบาทของผู้พิพากษา พนักงานอัยการ และทนายความในความเป็นจริง แนวคิด ดังกล่าว ได้นำมาสู่การสร้างกิจกรรมการเรียนรู้และสังเกตการณ์กระบวนการทาง ศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นแนวทางในการให้นักศึกษาในสาขาวิชา นิติศาสตร์ ได้เรียนรู้ประสบการณ์ในกระบวนพิจารณาด้วยตนเอง ผลจากการ ดำเนินการในโครงการ พบว่านักศึกษาได้ประสบการณ์ในมุมมองที่แตกต่างและ กว้างออกไปจากหลักการที่ตนได้เรียนรู้มาในชั้นเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็น เรื่องการพิจารณาคดีโดยเปิดเผย และการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรม ที่ยังคง ปรากฏปัญหาในทางปฏิบัติ การศึกษาโครงการนี้ต่อไปในระยะยาวย่อมเป็น แนวทางในการเปิดมุมมองการเรียนรู้นอกชั้นเรียนเกี่ยวกับกระบวนการทางศาล และอาจนำไปสู่การพัฒนากระบวนการทางศาลในอนาคต

 

The limited studies on court procedures from other aspects apart from laws, especially the role of judges, public prosecutors and lawyers in practice has led to the project named "Learning and Ob­servation the Judicial Process in Human Rights Perspective". This project is based on the participation of law students in studying the judicial process from their own experiences by observing the trials themselves. . The results of this project reflect the student’s learning outcomes which are different from those learnt from the conven­tional study and provides the observations which are based on the real practices. Main results are about the issues of public hearing principle and fair trial principle and the problems thereof. This ap­proach of study outside the classroom also expand the perspectives of laws apart from the written legal instruments and bring about the development of the judicial process in the long run.

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

หนังสือและบทความ

Howard M. Erichson. "The Role of the Judge in Non-Class Settlements". Washington University Law Review, Volume 90, 1015 (2013), p. 1015-1026.

International Commission of Jurists. Trial Observation. Bangkok: ICJ, 2010.

Tor Bøhler, Trond Dolva. Donna Gomien and Marit Mæhlum. " Trial Observation". NORDEM manual on Human Rights Monitoring. Oslo: Norwegian Centre for Human Rights, 2008.

คณิต ณ นคร. ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญา. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2552.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. พิพากษ์ศาล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน, 2555.

มติชนออนไลน์. (2559) .จริยธรรมล่ามในศาลยุติธรรม. วันที่ 21 เมษายน 2554, สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559 จาก http://www.matichon.co.th/ news_detail.php?newsid=1303371021&grpid=no& catid=02.

วรรณชัย บุญบำรุง, ธนกฤต วรธนัชชากุล และสิริพันธ์ พลรบ. (2556). หลักและ ทฤษฎีกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่ม 1. กรุงเทพ: วิญญูชน.

สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. (2013). รายงานโครงการเรียนรู้และสังเกตการณ์กระบวนการทางศาลในมุมมอง สิทธิมนุษยชน (Court Watch) ประจำปี 2555-2556.

สมชาย ปรีชาศิลปกุล. การวิจัยกฎหมายทางเลือก: แนวคิดและพรมแดน ความรู้. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2558.

สำนักงานกิจการยุติธรรม. กระบวนการยุติธรรมทางอาญาไทย. กรุงเทพ: สำนักงานกิจการยุติธรรม, 2549.

สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. (2556). รายงานการเรียนรู้และ สังเกตการณ์กระบวนพิจารณาคดีในมุมมองสิทธิมนุษยชน ประจำปี 2555-2556.

สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. (2557). รายงานการเรียนรู้ และสังเกตการณ์กระบวนพิจารณาคดีในมุมมองสิทธิมนุษยชน ประจำปี 2556-2557.

สุภางค์ จันทวานิช. (2551). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กฎหมาย

International Covernent on Civil and Political Rights

Universal Declaration on Human Rights

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

ประมวลกฎหมายอาญา

พระธรรมนูญศาลยุติธรรม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

คำพิพากษาฎีกา

คำพิพากษาฎีกาที่ 7651/2552

คำพิพากษาฎีกาที่ 3977/2553

คำพิพากษาฎีกาที่ 5412/2554

Translated Thai References

Asian Institute for Human Rights, Faculty of Law Chiang Mai University, Faculty of Law Ubon Ratchathani University, School of Law Mae Fah Luang University and Faculty of Law Thaksin University. (2013). Report on the Learning and Observation of the Judicial Process from a Human Rights Perspective (Court Watch) 2012-2014. (in Thai)

Boonbumrung, W., Woratanatchakul, T., and Phonrop, S. (2013). Principles and Theory of Civil Procedure Law (Volume 1). Bangkok: Winyuchon. (inThai)

Chantawanich, S. (2008). The Methodology of Quanlitative Research. 16th edition. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)

Civil Procedure Code of Thailand (in Thai)

Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550 (2007) (in Thai)

Criminal Code of Thailand (in Thai)

Criminal Procedure Code of Thailand (in Thai)

Eawsriwong, N. (2012). The Critique of the Court. Bangkok: Matichon. (inThai)

Matichon Online. (2016). Ethics of Interpretaters in the Court. Retrived February 10, 2016, from http://www.matichon.co. th/news_ detail.php ?newsid=1303371021&grpid=no&catid=02 (in Thai)

Na Nakorn, K. (2009). Criminal Justice Refrom. Bangkok: Winyuchon. (in Thai)

Office of Justice Affairs. (2006). Criminal Justice System of Thailand. Bangkok: Office of Justice Affairs. (in Thai)

Preechasillapakul, S. (2015). Alternative Legal Research: Concepts and Knowledge. Bangkok: Winyuchon. (in Thai)

School of Law Mae Fah Luang University. (2013). Report on the Learning and Observation the Judicial Process from a Human Rights Perspective (Court Watch) 2012-2013. (in Thai)

School of Law Mae Fah Luang University. (2014). Report on the Learning and Observation the Judicial Process from a Human Rights Perspective (Court Watch) 2013-2014. (in Thai)

Statue of Courts of Justice of Thailand (in Thai)

Supreme Court Judgement No. 3977/2553 (2010) (in Thai)

Supreme Court Judgement No. 5412/2554 (2011) (in Thai)

Supreme Court Judgement No. 7651/2552 (2009) (in Thai)