ปัจจัยด้านการกำกับตนเองและการควบคุมตนเองที่ส่งผลต่อชุดความคิดเติบโตของนักศึกษาและบุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ

ผู้แต่ง

  • สุรเกียรติ ธาดาวัฒนาวิทย์ คณะอุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี กรุงเทพฯ 10250 https://orcid.org/0000-0002-6323-6462
  • ชยาวัฒ เกียรติกมลมาลย์ คณะอุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี กรุงเทพฯ 10250 https://orcid.org/0009-0003-3055-1057

DOI:

https://doi.org/10.14456/psruhss.2023.51

คำสำคัญ:

ชุดความคิดเติบโต , การกำกับตนเอง , การควบคุมตนเอง , อุตสาหกรรมบริการ

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาระดับของชุดความคิดเติบโตของนักศึกษาและบุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านการกำกับตนเองและด้านการควบคุมตนเองที่มีผลต่อระดับของชุดความคิดเติบโตของนักศึกษาและบุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือนักศึกษาและบุคลากรในอุตสาหกรรมบริการ จำนวน 148 คน โดยแบ่งเป็นบุคลากรในอุตสาหกรรมบริการ จำนวน 28 คน และนักศึกษาในอุตสาหกรรมบริการจำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ใช้สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาและบุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการมีชุดความคิดเติบโตและมีความคิดบางส่วนจำกัด ( gif.latex?\bar{X} = 37.53, SD = 5.21) และปัจจัยด้านการกำกับตนเอง (Self-Regulation) และการควบคุมตนเอง (Self-Control) สามารถร่วมกันทำนายระดับของชุดความคิดเติบโตของนักศึกษาและบุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ ได้ร้อยละ 3.30 (R2 = 0.033)

References

ชัชวาลย์ ศิลปกิจ, และรสสุคนธ์ ชมชื่น. (2558). ความตรงของแบบวัดชุดความคิด. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 23(3), 166-174.

มิลินทรา กวินกมลโรจน์. (2557). การวิจัยและพัฒนากระบวนการชี้แนะที่อิงทฤษฎีการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับชุดความคิดด้านการจัดการเรียนการสอนของครูประถมศึกษา (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา. (2558). การพัฒนากรอบความคิด Growth Mindset. กรุงเทพฯ: ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ.

สรชัย พิศาลบุตร, (2555). วิจัยปฏิบัติการ. กรุงเทพฯ: บริษัทวิทยพัฒน์.

สุกัญญา วงษ์ขันธ์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับตนเอง มโนสำนักในหน้าที่กับผลการปฏิบัติงานตาม KPI ของพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา ภาคธุรกิจสาขากลาง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

เอมอร ปันทะสืบ. (2553). ผลของการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการควบคุมตนเองต่อปัญหาและอุปสรรคสำหรับเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Aronson, J., Fried, C. B., & Good, C. (2002). Reducing the effects of stereotype threat on African American college students by shaping theories of intelligence. Journal of Experimental Social Psychology, 38(2), 113–125.

Brigman, G. A., Webb, L. D., & Campbell, C. (2007). Building skills for school success: Improving the academic and social competence of students. Professional School Counseling, 10(3), 2156759X0701000310.

Bruyneel, S., & Dewitt, S. (2006). Exerting self-control induces a narrow mindset. Department of Marketing and Organization Studies, Faculty of Economics and Applied Economics, Katholieke University Leuven.

Diehl, E. (2008). Motivating students with mindset coaching and how brains work (Dweck). [Online]. Available from: http://www.classroom20.com/forum/topics/motivating-students-with.

Duckworth, K., Akerman, R., MacGregor, A., Salter, E., & Vorhaus, J. (2009). Self-Regulated Learning: A Literature Review. [Wider Benefits of Learning Research Report No. 33]. London: Centre for Research on the Wider Benefits of Learning, Institute of Education, University of London.

Dweck, C. S., Walton, G. M., & Cohen, G. L. (2014). Academic Tenacity: Mindsets and Skills that Promote Long-Term Learning. Bill & Melinda Gates Foundation.

Lisaingo, S., Ford, L., & Perry, N. (2016). Thriving in Challenge: How Students, Motivational Beliefs Influence Their Self-Regulation During a Challenge Task.[Online]. Available from: http://self-regulationinschool-research-educ.sites.olt.ubc.ca/files/2015/03/CPA2016_Thriving_v3b.pdf

Mindprint Learning. (2017). Self-regulated learning: Teaching students to understand and drive their learning. [Online]. Available from: https://s3.amazonaws.com/wordpress_uploads/site/uploads/2014/04/Mindprint-Self-Regulated-Learning-Guide-February-2017-1.pdf

Setbon, M., & Raude, J. (2010). Factors in vaccination intention against the pandemic influenza A/H1N1. European journal of public health, 20(5), 490-494.

Shechtman, N., Yarnall, L., Stites, R., & Cheng, B. (2016). Empowering adults to thrive at work: Personal success skills for 21st century jobs. A report on promising research and practice. Chicago, IL: Joyce Foundation.

Zeng, G., Hou, H., & Pend, K. (2016). Effect of Growth Mindset on School Engagement and Psychological Well-Being of Chinese Primary and Middle School Students: The Mediating Role of Resilience. Frontiers in Psychology, 7, 1-8.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

20-12-2023

How to Cite

ธาดาวัฒนาวิทย์ ส. . ., & เกียรติกมลมาลย์ ช. . . (2023). ปัจจัยด้านการกำกับตนเองและการควบคุมตนเองที่ส่งผลต่อชุดความคิดเติบโตของนักศึกษาและบุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ . วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 17(2), 728–740. https://doi.org/10.14456/psruhss.2023.51