Samayabhedoparacanacakra คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (1)

Main Article Content

เมธี พิทักษ์ธีระธรรม, ดร.

บทคัดย่อ

คัมภีร์ “สมยเภโทปรจนจักร” ได้รับการรจนาโดยพระวสุมิตรผู้เป็นพระเถระในนิกายสรวาสติวาทิน ในปัจจุบันไม่พบต้นฉบับภาษาสันสกฤต หลงเหลือเพียงฉบับแปลภาษาทิเบต และฉบับแปลภาษาจีนอีกสามฉบับ ทางด้านเนื ้อหาในคัมภีร์จะกล่าวถึงปีแห่งพุทธปรินิพพาน มูลเหตุแห่งการแตกนิกาย และมติธรรมของนิกายต่าง ๆ คัมภีร์นี้ มักจะถูกอ้างเสมอเมื่อมีการถกถึงประเด็นดังกล่าวข้างต้น หากมีการอ้างอิงคัมภีร์ทีปวงศ์ คัมภีร์กถาวัตถุอรรถกถา ที่เป็นคัมภีร์ตัวแทนของฝ่ายทักษิณนิกายเมื่อใด คัมภีร์ “สมยเภโทปรจนจักร” ก็เป็นคัมภีร์ตัวแทนของฝ่ายอุตตรนิกายเสมอ
เนื่องจากแวดวงวิชาการพุทธศาสตร์ในประเทศเรายังขาดงานแปลคัมภีร์พระพุทธศาสนาที่อยู่ในชั ้นปฐมภูมิจากภาษาโบราณต่าง ๆ ด้วยเหตุนี้ ผู้เขียนจึงเล็งเห็นความสำคัญในการแปลคัมภีร์ “สมยเภโทปรจนจักร” จากต้นฉบับภาษาทิเบต เป็นภาษาไทยและแสดงเชิงอรรถวิเคราะห์ประกอบ พร้ อมเปรียบเทียบกับฉบับแปลจีนอีกสามฉบับเพื่อให้แวดวงวิชาการพุทธศาสตร์ของบ้านเราได้นำข้อมูลจากฝ่ ายอื่นมาค้นคว้าวิจัยอย่างรอบด้าน และพิจารณาเปรียบเทียบอย่างรอบคอบในประเด็นต่างๆ เพื่อพัฒนาการค้นคว้าวิจัย และยกระดับวงการพุทธศาสตร์ของบ้านเราสู่ระดับสากล
สำหรับบทความฉบับนี้ ผู้เขียนแปลถึง “มูลเหตุแห่งการแตกนิกาย” กล่าวคือสาเหตุในการแตกเป็น นิกายสถวีระ และนิกายมหาสังฆิกะ สำหรับหัวข้ออื่นที่เหลือนั้นจะนำเสนอในโอกาสถัดไป



Article Details

How to Cite
พิทักษ์ธีระธรรม เมธี. 2018. “Samayabhedoparacanacakra คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (1)”. ธรรมธารา 2 (1):67-103. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/160735.
บท
บทความวิชาการทางพระพุทธศาสนา
Bookmark and Share

References

ซิว ซูหลุน. 2549. ถังซำจั๋ง จดหมายเหตุการเดินทางสู่ดินแดนตะวันตกของมหาราชวงศ์ถัง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มติชน.

ประพจน์ อัศววิรุฬการ. 2557. โพธิสัตวจรรยา: มรรคาเพื่อมหาชน. โครงการเผยแผ่ผลงานวิชาการคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลำดับที่ 88 ชุดวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ 3. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สิริวัฒน์ คำวันสา. 2545. พระพุทธศาสนาในอินเดีย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร.

เสถียร โพธินันทะ. 2543. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มหามงกุฏราชวิทยาลัย.

เสถียร โพธินันทะ. 2544. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: บริษัทสร้างสรรค์บุ๊คส์จำกัด.

Bareau, André. 2013. The Buddhist Schools of the Small Vehicle. translated by Sara Boin-Webb. edited by Andrew Skilton. London: Buddhist Society Trust.

Beal, Samuel, trans. 1981. SI-YU-KI: Buddhist Records of the Western World. Delhi: Motilal Banarsidass; reprint of the 1884 ed.

Bechert, Heinz. 1995. “Introductory Eassay: The Dates of the historical Buddha -a controversial issue.” When did the Buddha live? The Controversy on the Dating of the Historical Buddha: 11-36, edited by Heinz Bechert. Delhi: Sri Satguru Publications A Division of Indian Books Centre.

Bernhard, Franz. 1970. “Gāndhārī and the Buddhist Mission in Central Asia.” Añjali: Papers on Indology and Buddhism: A Felicitation Volume Presented to Oliver Hector de Alwis Wijesekera on His Sixtieth Birthday: 55–62, edited by Jayadeva Tilakasiri. Peradeniya: University of Ceylon.

Chou, Jouhan (周 柔含). 2006. “Hiyusha-nitsuite-no-ichi-kōsatsu 「譬喩者」についての一考察 (An Investigation of the Dārṣṭānatika).” Indogaku-bukkyōgaku-kenkyū 印度学仏教学研究 110:118-122(L).

Deeg, Max. 2012. “Sthavira, Thera and ‘*Sthaviravāda’ in Chinese Buddhist Sources.” How Theravāda is Theravāda? Exploring Buddhist Identites: 129-162, edited by Peter Skilling, Jason A. Carbine, Claudio Cicuzza, and Santi Pakdeekham. Chiang Mai: Silkworm Books.

Demiéville, Paul. 1924. “Les versions chinoises du Milindapañha.” Bulletin de l’Ecole Française d’Extrême-Orient 24(1): 1-258.

Demiéville, Paul. 1973. “L’origine des sectes bouddhiques d’après Paramārtha.” Choix d’études bouddhiques (1927-1970): 81-130. Leiden: E.J. Brill. (=Mélanges chinois et bouddhiques I. Bruxelles 1931-1932: 15-64).

Funayama, Toru (船山徹). 2005. “Shintaisanzō-no-chosaku-no-tokuchō: Chūin-bunka-kōshō-no-rei-toshite 真諦三蔵の著作 の特徴―中印文化交渉の例として (The Characteristics of the Works Of Zhendi (Paramārtha): An Example of the Cultural Interactions between China and India).” Tōzai-gakujutsu-kenkyūsho-kiyō 東西学術研究所紀要 38: 97-122.

Funayama, Toru (船山徹). 2008. “The work of Paramārtha: An example of Sino-Indian cross-cultural exchange.” Journal of the International Association of Buddhist Studies 31(1-2): 141-183.

Funayama, Toru (船山徹). 2014. Butten-wa-dō-kanyakusarete-noka: sūtora-ga-kyōten- ni- naru-toki 仏典はどう漢訳されたのか―スートラが経典になるとき(Making Sutras into ‘Classics’(jingdian): How Buddhist Scriptures Were Translated into Chinese). 2nd ed. Tokyo: Iwanamishoten.

Harada, Wasō (原田和宗). 1998. “Gengo-nitaisuru-kōshi-iyoku-toshite-no-shiben(jin)-jukuryo(shi): Kyōryōbu- gakusetsu-no-kigen(1) 言語に対する行使意欲としての思弁(尋)熟慮(伺)―経量部学説の起源 (1) (วิตก และวิจารณ์ สำหรับความต้องการใช้ในภาษา: การกำเนิดทฤษฎีของนิกายเสาตรานติกะ(1)).” Mikkyō-bunka 密教文化 199/200: 76-101(L).

Hartmann, Jens-uwe. 2004. “Contents and Structure of Dīrghāgama of the (Mūla-)Sarvāstivādins.” Annual Report of The International Research Institute for Advanced Buddhology at Soka University 7: 119-137.

von Hinüber, Oskar. 1989. “Origin and varieties of Buddhist Sanskrit.” Dialectes dans les Littératures Indo-Aryennes: 341-367, edited by Colette Caillat. Paris: Collège de France, Institut de Civilisation Indienne.

Honjō, Yoshifumi (本庄良文). 1992. “Sautrāntika.” Indogaku-Bukkyōgaku-kenkyū 印度学仏教学研究 40(2): 148-154(L).

Nattier, Janice J., Charles S. Preblish. 1977. “Mahāsāṃghika Origins: The Beginnings of Buddhist Sectarianism.” HR 16(3): 237-272.

Karashima, Seishi (辛島静志). 1994. Chōagonkyō-no-gengo-no-kenkyū: onshago-bunseki-wo-chūshin-toshite 長阿含経の原語の研究―音写語分析を中心として(งานวิจัยศัพท์ดั้งเดิมของคัมภีร์ทีรฆาคมะ: ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการถอดเสียงคำศัพท์). Tokyo: Hirakawashuppansha.

Kato, Junshō (加藤純章). 1989. Kyōryōbu-no-kenkyū 経量部の研究 (งานวิจัยนิกายเสาตรานติกะ). Tokyo: shunjūsha.

Przyluski, Jean. 1940. “Dārṣṭāntika, Sautrāntika and Sarvāstivādin.” Indian Historical Quarterly 16: 246-254.

Radich, Michael. 2012. “External Evidence Relating to works Ascribed to Paramārtha, with a Focus on Traditional Chinese Catalogues.” Shintai-sanzō-kenkyū-ronshū 眞諦三蔵研究論集: 39-102, edited by Toru Funayama. Kyoto: Kyotodaigaku-jinbunkagaku-kenkyūsho.

Lamotte, Ḗtienne. 1988. History of Indian Buddhism. translated by Sara Boin-Webb. France: Peeters Publishers

Saigusa, Mitsuyoshi, Shoji Mori, Hiroshi Kanno and Yoshio Kaneko. 1993. Chōagonkyō I 長阿含経I (ทีรฆาคม เล่มที่ 1). ToKyo: Daizōshuppan.

Sasaki, Shizuka (佐々木閑). 2000. Indo-bukkyō-hen’iron: Naze-bukkyō-wa-tayōka-shita-noka インド仏教変移論 ― なぜ仏教は多様化したのか (On the Transformation of Indian Buddhism: Why Did Buddhism Become Pluralistic?). Tokyo: Daizōshuppansha.

Thannavuddho Bhikkhu. 2003. “Shoki-bukkyō-ni-okeru-seiten-seiritsu-to-shugyō-taikei 初期仏教における聖典成立と修行体 (กําเนิดพระไตรปิฎกและแนวปฏิบัติสู่การตรัสรู้ธรรมในพระพุทธศาสนายุคดั้งเดิม).” PhD diss., University of Tokyo.

Tsukamoto, Keishō (塚本啓祥). 1980. Shoki-bukkyō-kyōdan-no-kenkyū 初期仏教教団史の研究 - 部派の形成に関する文化史的考察 (A History of the Early Buddhist order: A Historical Study on the Formation of the Indian Buddhist Schools). 2nd ed. Tokyo: Sankibōbusshorin.

Teramoto, Enga, and Tomotsugu Hiramatsu (寺本婉雅, 平松友嗣). 1935. Zō-kan-wa-sanyaku-taikō: Ibushūrinron 藏漢和三譯對校: 異部宗輪論 (คำแปลเปรียบเทียบสามภาษา ทิเบต จีน ญี่ปุ่น: คัมภีร์สมยเภโทปรจนจักร). Tokyo: Kokushokankōkai.

Masuda, Jiryo. 1925. Original and Doctrines of Early Indian Buddhist Schools: A Translation of the Hsüan-chwang Version of Vasumitra’s Treatise. Leipzig: Verlag der Asia Major.

Yamada, Ryūjō (山田龍城). 1959. Daijō-bukkyō-seiritsu-shiron-josetsu 大乗仏教成立史論序説 (บทนำทฤษฎีประวัติการกำเนิดพระพุทธศาสนามหายาน). Kyoto: Heirakujishoten.

Yamazaki, Genichi (山崎元一). 2002. “Butsumetsunen-no-saikentō: ronsōshi-no-kaiko-behieruto-setsu-hihan 仏滅年の再検討 ― 論争史の回顧とベヒェルト説批判 (Re-examination on the nirvāṇayear: History of studies and some comments on H.Bechert’s theory).” Sankō-bunka-kenkyūjo-nenpō 三康文化研究所年報33: 1-29(L).