เอรกปัตตนาคราช (1): ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างฉบับบาลีและคัมภีร์อื่นๆ

Main Article Content

ชาคริต แหลมม่วง

บทคัดย่อ

     บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะแปลสรุปความเนื้อเรื่องเอรกปัตตนาคราชใน 7 คัมภีร์คือ (1) อรรถกถาธรรมบทของเถรวาท  (2) มหาวัสตุของโลโกตตรวาท (3) พระวินัยมหิศาสกะ (4) พระวินัยธรรมคุปต์ (5) พระวินัยมูลสรวาสติวาทกษุทรกวัสตุ (6) พุทธจริตสังครหะ (7) พระสูตรประมวลหลักสัมมาปฏิบัติภายใต้ร่มบุญ และพิจารณาเนื้อหาใน 6 คัมภีร์ต่างนิกาย (เล่มที่ 2-7) ที่เอื้อประโยชน์ให้เข้าใจบางประเด็นของเนื้อเรื่องนี้ในอรรถกถาธรรมบทได้ดียิ่งขึ้น
     จากการศึกษาพบว่า เนื้อเรื่องแต่ละคัมภีร์มีรายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกัน คัมภีร์ที่แสดงเนื้อหาไว้ค่อนข้างละเอียดคือ พระวินัยมหิศาสกะ พระวินัยมูลสรวาสติวาทกษุทรกวัสตุ และพุทธจริตสังครหะ สำหรับเนื้อหาที่แตกต่างออกไปนี้ บางส่วนก็นับว่าเอื้อประโยชน์ให้เข้าใจรายละเอียดบางประเด็นในอรรถกถาธรรมบทได้มากขึ้น เช่น สาเหตุที่นาคราชปรารถนาจะได้พบพระพุทธเจ้า
ที่มาของคาถาปริศนาธรรม ช่วงเวลาในอนาคตที่นาคราชนี้จะได้กลับมาเกิดเป็นมนุษย์ เป็นต้น นอกจากนี้ ผลการศึกษายังสนับสนุนว่า เนื้อเรื่องนี้ในคัมภีร์เถรวาท แม้จะอยู่ในชั้นอรรถกถาแต่ก็มีความเก่าแก่เทียบเท่าเนื้อหาพุทธประวัติในพระวินัยปิฎก

Article Details

How to Cite
แหลมม่วง ชาคริต. 2020. “เอรกปัตตนาคราช (1): ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างฉบับบาลีและคัมภีร์อื่นๆ”. ธรรมธารา 6 (2):105-71. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/242007.
บท
บทความวิชาการทางพระพุทธศาสนา
Author Biography

ชาคริต แหลมม่วง, นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาเอเชียใต้ศึกษา คณะภาษาต่างประเทศ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง

ชาคริต แหลมม่วง

อีเมล์ : cha072@hotmail.com
เปรียญธรรม 8 ประโยค

การศึกษา
- (ปัจจุบัน) นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาเอเชียใต้ศึกษา คณะภาษาต่างประเทศ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง
- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาและวรรณคดีอินเดีย) มหาวิทยาลัยปักกิ่ง
- พุทธศาสตรบัณฑิต (บาลีพุทธศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Bookmark and Share

References

• ภาษาไทย

─1. คัมภีร์

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล เล่ม 91. นครปฐม: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552.

─2. ข้อมูลจากเว็บไซต์

maps India. “แผนที่ของอินเดียโบราณ.” สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2563. https://th.maps-india-in.com/img/0/แผนที่ของอินเดียโบราณ.jpg

• ภาษาต่างประเทศ

─1. คัมภีร์ภาษาบาลี

Pali Text Society. Papañcasūdanī: Majjhimanikāyaṭṭhakathā Part II. Edited by J.H. Woods and D. Kosambi. London: The Pali Text Society, 1979.

Pali Text Society. Samantapāsādikā: Buddhaghosa’s Commentary on the Vinayapiṭaka Vol. IV. Edited by J. Takakusu and Makoto Nagai. London: The Pali Text Society, 1967.

Pali Text Society. Sumaṅgalavilāsinī: Buddhaghosa’s Commentaryon the Dīghanikāya Part I. Edited by T.W. Rhys Davids and J. Estlin Carpenter. London: The Pali Text Society, 1968.

Pali Text Society. Suttanipāta. Edited by Dines Andersen and Helmer Smith. London: The Pali Text Society, 1984.

Pali Text Society. The Commentary on the Dhammapada Vol. III. Edited by H.C. Norman. London: The Pali Text Society,1970.

Pali Text Society. The Dīghanikāya Vol. I. Edited by T.W. Rhys Davids and J. Estlin Carpenter. London: The Pali Text Society, 1975.

Pali Text Society. The Majjhimanikāya Vol. I. Edited by V. Trenckner. London: The Pali Text Society, 1979.

Pali Text Society. The Vinayapiṭakaṃ Vol. I: The Mahāvagga. Edited by Hermann Oldenberg. Oxford: The Pali Text Society, 1997.

Pali Text Society. The Vinayapiṭakaṃ Vol. IV: The Suttavibhaṅga, Second Part. Edited by Hermann Oldenberg. Oxford: The Pali Text Society, 1993.

─2. คัมภีร์ภาษาทิเบต

Derge Edition. sDe dge bKa’ ‘gyur Vol. 10. Tibet: Sakya Monastery, 1733.

─3. คัมภีร์ภาษาจีน

Taishō Issaikyō Kankōkai 大正一切經刊行會 (Taisho Tripitaka Publication Association). Taishō Shinshū Daizōkyō 大正新脩大藏經 (Taishō Revised Tripiṭaka) Vol. 3, 4, 22, 23, 24, 32, 51. Tokyo: Taishō Issaikyō Kankōkai, 1962.

─4. หนังสือภาษาอังกฤษ

Nariman, J.K.. Literary History of Sanskrit Buddhism [From Winternitz, Sylvain Levi, Huber]. Delhi: Motital Banarsidass, 1992.

Yuyama, Akira. The Mahāvastu-Avadāna In Old Palm-Leaf and Paper Manuscripts Vol. I: Palm-Leaf Manuscripts. Tokyo: The Centre for East Asian Cultural Studies for Unesco, 2001.

─5. บทความภาษาอังกฤษ

Karashima, Seishi and Katarzyna Marciniak. “The Questions of Nālaka/Nālada in the Mahāvastu, Suttanipāta and the Fobenxingji jing.” Annual Report of The International Research Institute for Advanced Buddhology at Soka University, 21, (2018): 147-166.