การศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยงและการรักสุขภาพ

Main Article Content

Kittikit Kittikamron
Thanya Somsrikum
Lapasrada Jaturanon
Busalin Suthikwanchai
Pornchita Poolsri
Sirikorn Luangjariyakul
Hilmee Doloh

บทคัดย่อ

ภายใต้ความเสี่ยงและการรักสุขภาพ โดยใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 81 คน ใช้ทฤษฎีการสะกิด (Nudge) โดยการให้ข้อมูลปริมาณน้ำตาล (กรัม) และพลังงาน (กิโลแคลอรี่) ของน้ำอัดลมและน้ำผลไม้ (Anchoring Effect) รวมไปถึงการให้ Default Option แก่กลุ่มตัวอย่าง ผลการศึกษา พบว่า จากพฤติกรรมการตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง กลุ่มผู้ทดลองที่ได้หยิบบอลเอง (Control Group) จะเลือกโยนบอลด้วยมือข้างที่        ไม่ถนัด ส่วนกลุ่มผู้ทดลองที่มีการสะกิดโดยการยื่นบอลให้มือข้างที่ถนัดและข้างที่ไม่ถนัด (Treatment Group) ส่วนใหญ่จะเลือกใช้มือข้างที่ถนัดในการโยนบอล แม้ว่าจะมีการยื่นบอลให้มือข้างที่ไม่ถนัดก็ตาม ในส่วนของพฤติกรรมการเลือกเครื่องดื่ม กลุ่มผู้ทดลองที่เลือกลู่น้ำได้เอง (Control Group) ส่วนใหญ่จะเลือกโยนลู่น้ำอัดลม ส่วนกลุ่มผู้ทดลองที่มีการสะกิดด้วยข้อมูลปริมาณน้ำตาลและพลังงานที่ได้รับ (Treatment Group 1) พบว่า         ผู้ทดลองส่วนใหญ่เลือกน้ำผลไม้ และกลุ่มที่มีการพาผู้ทดลองไปยืนอยู่หน้าลู่น้ำอัดลมหรือน้ำผลไม้ (Treatment Group 2 และ 3) พบว่าผู้ทดลองส่วนใหญ่เลือกน้ำผลไม้ แม้ว่าจะมีการพาไปยืนหน้าลู่น้ำอัดลมก็ตาม และผล   การทดลองใน1การสังเกตพฤติกรรมความเสี่ยงที่แท้จริงของผู้ทดลอง พบว่าคำตอบในแบบสอบถามและผล     การทดลองไม่ได้สอดคล้องกันทั้งหมด กล่าวได้ว่าผู้ทดลองบางคนไม่ได้เป็นคนชื่นชอบความเสี่ยงหรือไม่ชื่นชอบความเสี่ยงตลอดเวลาตาม Standard Economic Model

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชุตินันท์ โรจน์เพ็ญเพียร และ วรัญญา ติโลกะวิชัย. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร.

สืบค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2565, จาก https://gsbooks.gs.kku.ac.th/60/nigrc2017/pdf/HMP7.pdf

ปานทิพย์ สวยสม. (2564). เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมและการสะกิดเพื่อส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัย ในประเทศไทย: กรณีศึกษาผู้โดยสารรถจักรยานยนต์

สาธารณะ. สืบค้นเมื่อ 21 ตุลาคม 2565, จาก http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1382/1/gs631130544.pdf

พัชรสุทธิ์ สุจริตตานนท์ และคณะ. (2559). การทดลองเชิงเศรษฐศาสตร์เรื่องความโน้มเอียงจากทางเลือกมาตรฐานในการเลือกอาหารของนิสิตนักศึกษา.

สืบค้นเมื่อ 19 ตุลาคม 2565, จาก http://thacademic.thaihealth.or.th/datatank/thaihealth/oai/file/รายงานการทดลองเชิงเศรษฐศาสตร์เรื่อง

ความโน้มเอียงจากทางเลือกมาตรฐานในการเลือกอาหา.pdf

พีระ ตั้งธรรมรักษ์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพ: กรณีศึกษา นักเรียน นิสิต นักศึกษา และกลุ่มคนวัยทำงาน มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้นเมื่อ 21 ตุลาคม 2565, จาก https://ejournals.swu.ac.th/index.php/swurd/article/view/9582/8170

วิภาวี สุริโย. (2548). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อน้ำผัก-น้ำผลไม้พร้อมดื่มของ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ).

กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์. ถ่ายเอกสาร. สำนักข่าวสร้างสุข. (2564). ห่วงคนไทยกินน้ำตาลเกิน เสี่ยงป่วยโรค NCDs.

สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.thaihealth.or.th/ห่วงคนไทยกินน้ำตาลเกิน/

อดุลย์ ศุภนัท และคณะ. (2564). การสะกิดเพื่อส่งเสริมใช้ถุงพลาสติกชีวภาพ ด้วยเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมกับครัวเรือน ในกรุงเทพมหานคร.

สืบค้นเมื่อ 19 ตุลาคม 2565, จาก http://utcc2.utcc.ac.th/utccjournal/421/20_35.pdf

อภิญญา อุตระชัย และกริช เรืองไชย. (2561, กุมภาพันธ์). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้พฤติกรรมการบริโภคขนมและเครื่องดื่มรสหวานและภาวะโภชนาการ ของใน

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม ฉบับการประชุมวิชาการครบรอบ 25 ปี. 25(12): 99.