กระบวนทัศน์ รูปแบบและกลไกการพัฒนาครูในลักษณะเครือข่ายเชิงพื้นที่; PARADIGM, MODEL AND MECHANISM FOR AREA-BASED TEACHER DEVELOPMENT

ผู้แต่ง

  • สืบสกุล นรินทรางกูร ณ อยุธยา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

กระบวนทัศน์, รูปแบบ, กลไก, การพัฒนาครู, การพัฒนาครูตามแนวคิดเชิงพื้นที่

บทคัดย่อ

การพัฒนาครูอย่างต่อเนื่องเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นและมีความเชื่อมโยงต่อผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเป็นอย่างมาก การพัฒนาครูโดยผ่านกระบวนทัศน์ รูปแบบและกลไกในลักษณะเครือข่ายเชิงพื้นที่ เป็นประเด็นใหม่สำหรับประเทศไทยแต่เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาและสถาบันผลิตครู ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มีความชัดเจนในด้านนโยบาย กฏระเบียบและการสนับสนุนจากภาครัฐมากนัก การนำเสนอข้อค้นพบในครั้งนี้เกิดจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยย้อนหลัง 40 ปี ซึ่งพบว่า กระบวนทัศน์การพัฒนาครู สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มกระบวนทัศน์แบบดั้งเดิม ซึ่งเป็นมุมมองที่มุ่งเน้นมาตรฐานและความเหมือนกันของการพัฒนาครูโดยเป็นการรวมศูนย์การพัฒนาจากส่วนกลาง และกลุ่มกระบวนทัศน์แบบใหม่ ซึ่งเป็นมุมมองที่เน้นความต้องการในการพัฒนาของครูบนพื้นฐานของปัจเจกบุคคลและการมุ่งเน้นการพัฒนาผ่านแนวคิดใหม่ๆ สำหรับรูปแบบการพัฒนาครู มีการจำแนกออกเป็น 5 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบการพัฒนาครูในระหว่างการปฏิบัติงานโดยไม่ผ่านระบบออนไลน์  (Offline - On the Job Training) รูปแบบการพัฒนาครูนอกเวลาการปฏิบัติงานแบบออฟไลน์ (Offline - Off the Job Training) รูปแบบการพัฒนาครูในระหว่างการปฏิบัติงานแบบออนไลน์ (Online – On the Job Training) รูปแบบการพัฒนาครูนอกเวลาการปฏิบัติงานแบบออนไลน์ (Online – Off the Job Training) และการพัฒนาครูในรูปแบบผสมผสาน 70:20:10 (Blended Learning: 70:20:10) และสำหรับกลไกการพัฒนาครู สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ กลไกหน่วยงานและกลไกเครือข่าย

Downloads

Download data is not yet available.

References

กุณฑลี บริรักษ์สันติกุล. (2558) การพัฒนากระบวนการสร้างเสริมความสามารถของครูในการออกแบบการเรียนการสอนสำหรับเด็กในระยะเชื่อมต่อจากระดับอนุบาลสู่ระดับประถมศึกษาตามแนวคิดกลุ่มศึกษาทั้งคณะและแนวคิดการชี้แนะทางปัญญา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
ชาตรี ฝ่ายคำตา (2556). การวิจัยศึกษาตนเอง : กลยุทธ์ทางเลือกในการพัฒนาวิชาชีพครูของครู. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 15(1), 100-110.
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ และคณะ. (2560). รายงานการศึกษาเรื่องการพัฒนาแนวทางการเข้าสู่ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
มิลินทรา กวินกมลโรจน์. (2557). การวิจัยและพัฒนากระบวนการชี้แนะที่อิงทฤษฎีการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับชุดความคิดด้านการจัดการเรียนการสอนของครูประถมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
วรลักษณ์ ชูกำเนิด และเอกรินทร์ สังข์ทอง. (2557). โรงเรียนแห่งชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูที่เน้นผู้เรียนเป็นหัวใจสำคัญ. Academic Services Journal Prince of Songkla University 25 (มกราคม-เมษายน 2557), 93-102.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี- สฤษดิ์วงษ์
สงัด อุทรานันท์. (2530). การนิเทศการศึกษา หลักการ ทฤษฎีและปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพมหานครฯ: โรงพิมพ์มิตรสยาม
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2560). ข้อเสนอเชิงนโยบายและกลไกการขับเคลื่อนการผลิตครู การพัฒนาครู และการบริหารงานบุคคลของครู. พริกหวานกราฟฟิค: กรุงเทพฯ
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2560). ระบบและรูปแบบการพัฒนาครูที่เหมาะสมกับสังคมไทยและความเป็นสากล. พริกหวานกราฟฟิค: กรุงเทพฯ
Cator, K., Lathram, B., Schneider, C., & Vander Ark, T. (2015). Preparing Leaders for Deeper Learning. Seattle, WA: Getting Smart.
Cavanagh, D. (1983). Teacher Development: Curricular Problems and Paradigm Possibilities. Australian Journal of Teacher Education, 8(2), 7.
Cheng, Y. C. (2005). Three waves of teacher education and development: Paradigm shift in applying ICT. ICT in Teacher Education, 39.
Fielding, A. J., Cavanagh, D. M., & Widdowson, R. E. (1978). Diploma in Education? Rethinking the Curriculum. Australian journal of teacher education, 3(2), 1.
Fielding, T. (1983). Personal Construct Theory as a basis for a non-deterministic model of teacher development. Australian Journal of Teacher Education, 8(2), 2.
Fielding, T. (1983). The Theme of Teacher Development. Australian Journal of Teacher Education, 8(2), 1.
Fox, A. R., & Wilson, E. G. (2015). Networking and the development of professionals: Beginning teachers building social capital. Teaching and Teacher Education, 47, 93-107.
James, Anthony.,(2017) Micro Certification Trend Growing in IT. [Online]. Available from: https://www.devopsdigest.com/micro-certification-trend-growing-in-it [2018, March 16]
Knight, P. (2002). A systemic approach to professional development: learning as practice. Teaching and teacher education, 18(3), 229-241.
Korthagen, F., & Vasalos, A. (2008). 'Quality from within'as the key to professional development
Kuhn, T. S. (1970). The structure of scientific revolutions. University of Chicago Press, Chicago, 84-85.
McNamara, D. (1983). Less Idealism and More Realism: The Programme for Teacher Education. Australian Journal of Teacher Education, 8(2), 5.
Metzler, J., & Woessmann, L. (2012). The impact of teacher subject knowledge on student achievement: Evidence from within-teacher within-student variation. Journal of Development Economics, 99(2), 486-496.
Narintarangkul Na Ayudhaya S. et al., (2016). Designing Simulation for Assessing People Skills and Competencies of School Leaders In Thailand. ABAC journal, 36(2)
Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD). (2009). Creating effective teaching and learning environments: First results from TALIS. Paris: Organisation for Economic Co-operation and Development.
Pedler, M. (Ed.). (2011). Action learning in practice. Gower Publishing, Ltd.
Rabin, R. (2014). Blended learning for leadership: The CCL approach. Center for Creative Leadership. https://www. ccl. org/wp-content/uploads/2015/04/BlendedLearningLeadership. pdf.
Roan, A., & Rooney, D. (2006). Shadowing experiences and the extension of communities of practice: A case study of women education managers. Management Learning, 37(4), 433-454.
Sheehan, B. A., & Lewis, R. (1983). Some Implications of a Non-Deterministic Model of Teacher Development. Australian Journal of Teacher Education, 8(2), 8.
Simkins, T., Close, P., & Smith, R. (2009). Work-shadowing as a process for facilitating leadership succession in primary schools. School Leadership and Management, 29(3), 23-251.
Soyemi, J., Ogunyinka, O. I., & Soyemi, O. B. (2012). Integrating self-paced e-learning with conventional classroom learning in Nigeria educational system. Mediterranean Journal of Social Sciences, 3(4), 127-133.
Timperley, H., Wilson, A., Barrar, H., & Fung, I. (2008). Teacher professional learning and development.
Yamkasikorn, M., (2017) New Paradigm for Teacher Education Development: https://ice-moeth2017.seameo.org

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-28

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ