ประชารัฐจากรายการคืนความสุข ให้คนในชาติคืออะไร?

ผู้แต่ง

  • Piyakorn Whangmahaporn

คำสำคัญ:

การปกครองการบริหารสาธารณะ, ประชารัฐ, รายการคืนความสุขให้คน ในชาติ

บทคัดย่อ

กระบวนทัศน์การปกครองการบริหารสาธารณะเป็นการปฏิรูปการจัดการภาครัฐ โดยเปลี่ยนแปลงบทบาทของรัฐบาลและความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับภาคประชาสังคม การปกครองการบริหารสาธารณะเป็นการอำนวยความสะดวกก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์อย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพระหว่างรัฐและประชาชนซึ่งไม่ได้ขึ้นอยู่กับแนวทางแบบเดิมที่เน้น "การควบคุมและคำสั่ง" แต่รัฐยังใช้แนวทางความยืดหยุ่น การสื่อสาร การชักชวน และการมีส่วนร่วม แนวคิดดังกล่าวมีอิทธิพลต่อการจัดการภาครัฐไทยภายใต้ชื่อว่า ประชารัฐ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดประชารัฐโดยศึกษาจากรายการคืนความสุขให้คนในชาติ ผลการศึกษาพบว่าการจัดการภาครัฐแบบประชารัฐได้รับอิทธิพลจากแนวคิดการปกครองการบริหารสาธารณะ ซึ่งประกอบด้วย รัฐทำหน้าที่อำนวยความสะดวกและประสานงาน การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน /ภาคเอกชนและการให้ความสำคัญกับความเป็นพลเมือง

References

เอกสารอ้างอิง

จักรกฤษ กมุทมาศ และศุภวรรณ คล่องดำเนินกิจ. (2560). การบริหารปกครอง
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกับข้อสังเกตกรณีเหมืองแร่โปแตชอาเซียนจังหวัดชัยภูมิ. วารสารการบริหารปกครอง, 6 (1) :
152 - 184
ถวิลวดี บุรีกุล,รัชวดี แสงมหะหมัด และ Merieau, Eugenie. (2555). ความ
เป็นพลเมืองในประเทศไทย. การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า. ครั้งที่ 13 ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ วันที่ 22-24 มีนาคม 2555.
พูลเดช กรรณิการ์. (2016). รู้จัก “ประชารัฐ” ดีหรือยัง. ใน สยามรัฐ. (ออนไลน์),
สืบค้นจาก http://www.siamrath.co.th/web, เข้าถึงเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2016
รติมา คชนันทน์. (2558). วิเคราะห์จุดต่างประชารัฐ-ประชานิยม. (ออนไลน์),
สืบค้นจาก http://library2.parliament.go.th/ebook/content- issue/2558/hi2558-098.pdf, เข้าถึงเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2559
สำนักงานประสานงานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ. (มปป). คู่มือ
ประชารัฐรักสามัคคี. (ออนไลน์), สืบค้นจาก file:///D:/My%20Documents/Downloads/Manual_V1.pdf, เข้าถึงเมื่อ 6 ธันวาคม 2559
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2557). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา วันที่ 12 กันยายน 2557. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
Bovaird, T. and Löffler, E. (eds.) (2003). Public Management
and Governance. Routledge: London.
Chen, Z. (2000). A review of “the New public management
paradigm.” Social Science in China. 6 : 73-207.
OECD. (2011). Public Governance. np.


Osborne, D. & Gaebler, T. (1993). Reinventing Government.
Penguin Press.
Rhodes, R. A. W. (1996). “The new governance: Governing without
government.” Political Studies. 652-667.
Skelcher, C., Mathur, N., & Smith, M. (2005). “The public governance
of collaborative spaces: Discourse, design and democracy.” Public Administration. 83,3 : 573-596.
World Bank. (1992) Governance and Development. World Bank :
Washington, DC.
XU Runya, SUN Qigui, SI Wei. (2015). “The Third Wave of Public
Administration : The New Public Governance.” Canadian Social Science. 11, 7 : 11-21.

Translated Thai References

Bureekul T., Rushwadi S. and Merieau, E. (2012). Citizenship in
Thailand. In. 13th Conference KPI. United Nations Conference Centre. March 22-24, 2012.
Cabinet Secretariat. (2014). General Policy Statement of the
Cabinet, Prayut Chan-o-cha September 12, 2014.
Bangkok: Publisher Cabinet and Gazetted.
Kannika, P. (2016). Do you know "civil state" ? In Siamrath.
(Online). From http://www.siamrath.co.th/webAccess November 30, 2016.
Kamudhamas, J. and Supawan, K. (2017). Environmental Governance
and the Remarks on the Case of ASEAN Potash Mining, Chaiyaphumi Province. Governance Journal, 6 (1): 152 - 184
Kotchanan, R. (2015). Analysis of the civil state-populism. (Online),
From http://library2.parliament.go.th/ebook/content- issue/2558/hi2558-098.pdf, Access November 30, 2015
Office of Economic Development, Foundations and Civil state. (n.d.)
Civil State Guideline. (Online), Fromfile:///D:/My%20Documents/Downloads/Manual_V1.pdf, Accessed December 6, 2016

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-01-21