คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร

คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร

ผู้แต่ง

  • Kampanart Wongwatthanaphong

คำสำคัญ:

คุณธรรม, ความโปร่งใส, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสม (mixed methods) ข้อมูลเชิงปริมาณเก็บจากผู้มีส่วนได้เสียภายนอก จำนวน 700 ตัวอย่าง และเก็บจากบุคลากรภายในหน่วยงาน จำนวน 288 คน ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์จากเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสมีการกำหนดค่าคะแนนตามแหล่งข้อมูลในแต่ละดัชนี และตัวชี้วัด และมีการกำหนดเกณฑ์การให้น้ำหนัก ซึ่งได้มาจากการใช้เทคนิคเดลฟาย จากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ และเจ้าหน้าที่ของสำนักงาน ป.ป.ช. ผลการศึกษาพบว่า ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร โดยรวมได้คะแนนหลังถ่วงน้ำหนักเท่ากับ 70.02 ซึ่งถือว่ามีคุณธรรมความโปร่งใสในการดำเนินงานอยู่ในระดับสูง โดยดัชนีความปลอดจากทุจริตในการปฏิบัติงาน มีผลการประเมินอยู่ในระดับสูงมาก มีคะแนนมากที่สุดเท่ากับ 98.25 รองลงมาคือดัชนีความพร้อมรับผิด ผลการประเมินอยู่ในระดับสูง มีค่าคะแนนเท่ากับ 67.01 ดัชนีคุณธรรมการทำงานของหน่วยงาน ผลการประเมินอยู่ในระดับสูง มีค่าคะแนนเท่ากับ 63.85 ดัชนีความโปร่งใส ผลการประเมินอยู่ในระดับสูง มีค่าคะแนนเท่ากับ 62.13 และดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร ผลการประเมินอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าคะแนนเท่ากับ 54.37 ตามลำดับ

คำสำคัญ: คุณธรรม, ความโปร่งใส, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

References

โกวิทย์ พวงงาม. (2555). การปกครองท้องถิ่นไทย: หลักการและมิติใหม่ในอนาคต.
พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.
นิพนธ์ ทาบุราญ. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น อำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี, วารสารการบริหาร
ปกครอง 6 (2)
ประภัสสร เสวิกุล. (2559). คอร์รัปชั่น. (Online), เข้าถึงได้จาก
http://www.psevikul.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539310860&Ntype=5 (วันที่ค้นข้อมูล 10 มิถุนายน 2559)
มูลนิธิองค์กรเพื่อความโปร่งใสในประเทศไทย. (2559). ทุจริตในองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น (อปท.)(Online), เข้าถึงได้จาก http://www.transparency-thailand.org/ /thai/index.php/2014-11-24-03-07-28/2014-11-24-03-09-45/444-2016-02-17-02-26-33 (วันที่ค้นข้อมูล 28 มิถุนายน 2559)
ศูนย์วิจัยความสุขชุมชน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. (2554). ความต้องการของ
ประชาชนต่อรัฐบาลชุดใหม่ในการสร้างชาติโปร่งใส สร้างไทยซื่อตรง. (Online), เข้าถึงได้จากhttp://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1311141017 (วันที่ค้นข้อมูล 20 มิถุนายน 2559)
สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์. (2549). “คอร์รัปชัน ธรรมาภิบาล และจริยธรรมในสังคมไทย”.
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 14 (1): 157-175.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. (2557). คู่มือ
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ปีงบประมาณ 2558., เข้าถึงได้จาก http://www.phichit.go.th/phichit/doc/2558/580108 _1.3.pdf (วันที่ค้นข้อมูล20 มิถุนายน 2559)
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2558). คู่มือ
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ.(Online),
เข้าถึงได้จาก http://www.pacc.go.th/pacc_2015/uploads/files/pap /20150525104732.pdf (วันที่ค้นข้อมูล 20 มิถุนายน 2559)
Behn, R. D. (2001). Rethinking Democratic Accountability. Washington,
DC: Brookings Institution Press.
Bowles, R. A. (1999). “Tax Policy, Tax Evasion and Corruption in Economies
in Transition”. In Underground Economies in Transition, edited by E. L. Feige and K. Ott. United Kingdom: Ashgate.
Duggar, J. W. n.d. The role of integrity in individual and effective
corporate leadership. Retrieved July 6, 2016 from Http://www.aabri.com/manuscripts/10504.pdf
Ferranti et al. (2009). How to Improve Governance: A New Framework
for Analysis and Action. Washington, DC: Brookings Institution.
International Monetary Fund. (2005). The IMF's Approach to Promoting
Good Governance and Combating Corruption - A Guide. Retrieved July 2, 2016 from
Http://www.imf.org/external/np/gov/guide/eng/index.htm#P17_850. 17 July.
Oliver, R. W. (2004). What is Transparency?. New York:
The McGraw-Hill.
Transparency International Organization. (2016). Corruption perceptions
index 2015. Retrieved July 22, 2016 from Http://www.transparency.org/cpi2015#downloads.
Transparency International Organization. (2011). The beginning of
Transparency International. Retrieved July 22, 2016 from Https://www.transparency.org/whoweare/history/. 16 May.

Translated Thai References
Foundation of Institue for Transparency in Thailand. (2016). Corruption
in Local Administrative Organization. (Online), Retrieved from http://www.transparency-thailand.org/ /thai/index.php/2014-11-24-03-07-28/2014-11-24-03-09-45/444-2016-02-17-02-26-33 (28th June 2018)
Office of the Anti-Corruption Commission (2014). A Guide to
Evaluating the Integrity and Transparency of Public Sector Operations in FY2015 (Online), Retrieved fromhttp://www.phichit.go.th/phichit/doc/2558/580108 _1.3.pdf, (20 June 2016)
Office of the National Counter Corruption Commission. (2015). A Guide
to Evaluating the Integrity and Transparency of Government Operations(Online), Retrieved fromhttp://www.pacc.go.th/pacc_2015/uploads/files/pap /20150525104732.pdf (20 June 2016)
Puang-ngam, K. (2012). Thai Local Government : Principles and New
Perspectives in Future. 8th. Bangkok: Winyoochon.
Research Center of Community Happiness, Assumption University.
(2011). Need of People to New Cabinet in Building Transparency and Upright. (Online), Retrieved from http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1311141017, (20 June 2016)
Sewikun, P. (2016). Corruption. (Online), Retrieved from
http://www.psevikul.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539310860&Ntype=5 , (10 June 2016)
Taburan, N. (2017). Factors Affecting the Management of Local
Administrative Organization in
Ban Tha Khun, Surat Thani, Governance Journal 6 (2)
Yossomsak, S. (2006). Corruption, Good Governance and Ethics in Thai
Society. Journal of Humanities and Social Science 14 (1): 157 – 175.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30