เหตุผล ความสำเร็จ และยุทธวิธีการผนวกเมืองอุบลราชธานีให้กลายเป็นจังหวัดหนึ่งของสยาม (ในช่วง 2425-2476)
เหตุผล ความสำเร็จ และยุทธวิธีการผนวกเมืองอุบลราชธานีให้กลายเป็นจังหวัดหนึ่งของสยาม (ในช่วง 2425-2476)
คำสำคัญ:
Strategies; Annexation; Ubon Ratchatani; Siamบทคัดย่อ
สิ่งสำคัญที่สยามเข้ามาผนวกดินแดนต่าง ๆ บริเวณพื้นที่ราบสูงโคราชจรดไปถึงแม่น้ำโขงนั้น เกิดจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในที่เกิดขึ้นในช่วงนั้น ปัจจัยภายนอกคือ ภัยจากการล่าอาณานิคมจากชาติตะวันตกที่เป็นตัวเร่งให้เมืองกรุงเทพฯ ต้องรีบผนวกดินแดนต่างๆ และปัจจัยภายในคือ ความต้องการของกษัตริย์สยามที่จะรวมศูนย์อำนาจการปกครองที่กระจัดกระจายที่อยู่ภายในเมืองกรุงเทพฯ ประกอบกับความต้องการทรัพยากรจากเมืองต่างๆ เพื่อสร้างความมั่งคั่งให้กับเมืองกรุงเทพฯ อย่างไรก็ตาม นโยบายการวมศูนย์อำนาจไม่เพียงแต่สร้างความมั่งคั่งให้กับเมืองกรุงเทพฯเท่านั้น แต่อีกด้านหนึ่งส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงภายในเมืองอุบลราชธานี โดยเฉพาะในเรื่องของสถานะเจ้าเมืองอุบลราชธานีที่ถูกลดอำนาจและสถานะลง การปกครองที่ถูกเปลี่ยนแปลงจากระบบอาญาสี่มาเป็นการปกครองที่มีลักษณะเป็นส่วนภูมิภาคและท้องที่เพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิรูประบบราชการของสยาม การจัดเก็บภาษี และการควบคุมคน มากกว่านั้นวัฒนธรรมท้องถิ่นในเมืองอุบลราชธานี ได้กำลังถูกแทนที่โดยวัฒนธรรมของสยามทั้งในเรื่องของ ศาสนา การศึกษา ภาษา ประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ
คำสำคัญ: ยุทธวิธี; การผนวกรวม; เมืองอุบลราชธานี; สยาม
Downloads
References
จอห์น เอช. อาร์โนลด์.(2560). ประวัติศาสตร์ของประวัติศาสตร์. ไชยยันต์ รัชชกูล
(แปล). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อ่าน.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช.(2535). 100 ปี แห่งการปฏิรูประบบราชการ : วิวัฒนาการ
ของ อำนาจรัฐและอำนาจการเมือง. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่
ผลงานวิจัย ฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชาร์ลส์ เอฟ คายส์.(2556). อีสานนิยม: ท้องถิ่นนิยมในสยามประเทศ. รัตนา โตสกุล
(แปล) พิมพ์ครั้งที่ 2.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ.(2554).ประมวลสนธิสัญญา อนุสัญญา ความตกลง บันทึก
ความเข้าใจและแผนที่ ระหว่างสยามประเทศไทยกับอาเซียนเพื่อนบ้าน:
กัมพูชา-ลาว-พม่า-มาเลเซีย กรุงเทพ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์
และมนุษย์ศาสตร์.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ กาญจนี ละอองศรี. (2557). อีสาน ลาว ขแมร์ ศึกษาใน
กรอบอาเซียน. กรุงเทพ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์
ศาสตร์.
ไชยันต์ รัชชกูล. ปั้นอดีตเป็นตัว. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อ่านม, 2557.
ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2548). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น. พิมพ์ครั้งที่2. ขอนแก่น:
หจก. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
ดุลยภาค ปรีชารัชช. (2555). ชนชั้นนำและอำนาจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.
(เอกสารประกอบการสอนวิชา อศ. 417 ชนชั้นนำและอำนาจในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ สาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษาที่ 2/2555).
เตช บุญนาค.(2548). การปกครองระบบเทศาภิบาลของประเทศสยาม พ.ศ.2435-
2458. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เติม วิภาคย์พจนกิจ.(2554). ประวัติศาสตร์อีสาน, พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ:
สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.
ธงชัย วินิจจกูล. (2558). “เสียดินแดน” เป็นประวัติศาสตร์หลอกไพร่ไปตายแทน.
กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน.
ธงชัย วินิจจะกูล.(2556). กำเนิดสยามจากแผนที่ ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ.
พวงทอง ภวัครพันธุ์ ไอดา อรุณวงศ์ และ พงษ์เลิศ พงษ์วนานต์. กรุงเทพ:
สำนักพิมพ์คบไฟร่วมกับสำนักพิมพ์อ่าน.
ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2540). การปกครองเมืองในสังคมไทย กรณีเชียงใหม่เจ็ด
ศตวรรษ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คบไฟ.
ธิดา สาระยา. (2537). รัฐโบราณ ในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้:กำเนิดและ
พัฒนาการ. สำนักพิมพ์เมืองโบราณ: กรุงเทพ.
ธีระพงษ์ มีไธสง. (2557). พระสงฆ์กับอำนาจรัฐไทย : บทเรียนจากอดีต-พระ
ธรรมยุตสายอีสาน. ศิลปวัฒนธรรม, ปี35 (ฉบับที่4). กรุงเทพ: สำนักพิมพ์
มติชน.
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. (2556). วาทกรรมเสียดินแดน. ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
บรรณาธิการ สยามประเทศไทย: ได้ดินแดน-เสียดินแดนกับลาวและกัมพูชา
, หน้า 2-67. กรุงเทพฯ: โครงการมูลนิธิตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. สยามประเทศไทยกับดินแดนในกัมพูชาและลาว.
กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์, 2552.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์.(2546).บทบาทอำนาจหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และการ
ปกครองท้องที่. รายงานวิจัยเสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2557).ชาติไทย เมืองไทย แบบเรียนและอนุสาวรีย์ : ว่าด้วย
วัฒนธรรม, รัฐ และรูปการจิตสำนึก. พิมพ์ครั้งที่3 กรุงเทพฯ : มติชน.เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว. เปิดแผนยึดล้านนา. กรุงเทพ: ศิลปวัฒนธรรม, 2559.
บำเพ็ญ ณ. อุบล. (2547). เล่าเรื่องเมืองอุบลราชธานี. (พิมพ์ครั้งที่2). อุบลราชธานี:
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
ไผท ภูธา (บรรณาธิการ). (2545). ตำนานร้อยปีกบถผู้มีบุญ. อุบลราชธานี: เครือข่าย
ลุ่มน้ำ อุบลราชธานี.
พระราชรัตโนบล. (2530). ประวัติเมืองอุบลราชธานี. สำนวนอิสานคัดจากใบลาน.
มาร์ติน สจ๊วต-ฟอกซ์. (2553). ประวัติศาสตร์ลาว. จิราภรณ์ วิญญรัตน์ แปล.กรุงเทพ:
มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, 2553.
ระลึก ธานี. (2546). อุบลราชธานีในอดีต. พิมพ์ครั้งที่ 2. อุบลราชธานี: รุ่งศิลปะการ
พิมพ์.
สมศรี ชัยวณิชยา และคณะ.(2556). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. การเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมของเมืองอุบลราชธานี ระหว่าง พ.ศ.2435-2520.
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (เอกสานอัดสำเนา).
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2555). อุบลราชธานีมาจากไหน?. กรุงเทพ: ชนนิยม.
สุเจน กรรพฤทธิ์. (2555). ตามรอยเจ้าอนุวงศ์ คดีปมประวัติศาสตร์ไทย-ลาว.
กรุงเทพฯ: สารคดี.
สุวิทย์ ธีรศาศวัต. (2550). ประวัติศาสตร์อีสาน 2322-2488. ขอนแก่น: ภาควิชา
ประวัติศาสตร์และโบราณคดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (เอกสารอัดสำเนา).
สุรชาติ บำรุงสุข (บรรณาธิการ). (2557). Soft Power. จุลสารความมั่นคงศึกษา.
ฉบับที่ 136-137. กรุงเทพ: บริษัท สแควร์ ปริ๊นส์ 93 จำกัด, 2557.
อาณัติ อนันตภาค, เรียบเรียง. (2558). ประวัติศาสตร์ลาว ดินแดนแห่งหุบเขาและ
ความเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: ยิปซี กรุ๊ป, 2558.
Anderson, B. (2006). Imagined communities: reflections on the origin
and spread of nationalism. London: Verso.
Connolly, William E. (1983). The terms of political discourse . Oxford :
Martin Robertson.
Grabowsky, Volker.(1995). Regions and National Integration in
Thailand, 1892-1992.Wiesbaden : Harrassowitz Verlag.
Kesboonchoo Mead, K.(2000).The rise and decline of Thai
absolutism. London : The School of Oriental and African
Studies, University of London.
Nye, Joseph S. (2011). The future of power. New York : Public Affairs.
Rajchagool, C. (1994). the rise and fall of the Thai absolute
monarchy : foundations of the modern Thai state from
feudalism to peripheral capitalism. Bangkok : White Lotus.
Winichakul, T. (1994). Siam mapped : a history of the geo-body of a
nation. Honolulu : University of Hawaii Press.
ออนไลน์
มณฑลทหารบกที่ 22 ค่ายสรรพสิทธิประสงค์. ประวัติมณฑลทหารบกที่ 22 [ระบบ
ออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://22circle.com/index.php/22?name=page&file=page&op=%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2 (12กันยายน 2561).
โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช. ประวัติโรงเรียน. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.benchama.ac.th/site/index.php/about-us/history
(12 กันยายน 2561).
GuideUbon. ฟื้นตำนานร้อยปี พิธีศพแบบนกหัสดีลิงค์ ณ ทุ่งศรีเมือง จ.อุบล.
[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.guideubon.com/2.0/ubon-story/829/ (12กันยายน
2561).
Translate Thai References
Anderson. B. (2009). Imagined communities: reflections on the origin
and spread of nationalism. Translated by Charnvit Kasetsiri.
Bangkok: The Foundation for the Promotion of Social Science
and Humanities Textbooks Project.
Anantaphak. A. (2015). Arranging for a history of Laos: A land of
valleys and changes. Bangkok: Yipsi Group.
Arnold, H. J. (2017). History : a very short introduction. Translated by
Chaiyan Ratchagool. Bangkok: Reading Publishing.
Bamrungsuk. S. (Editor) (2014). Soft Power. Issue 136-137. Bangkok: Siam
Square Company Limited 93.
Chaiwanichaya. S. (2013). Social changes of Ubonrathatani during
1892-1977. A full research paper.
Ubonrathatani University.
Chalearnmuang. T. (1997). Urban Governance in Thailand Case of
Chiang Mai Seven Centuries. Chiang Mai: Mingmuang
Publishing.
Keyes. F. C. (2013). ISAN : Regionalism in Northeastern Thailand.
(2ed.). Translated by Ratana Tosakul. Bangkok: The Foundation
for the Promotion of Social Science and Humanities Textbooks
Project.
Kasetsiri. C. and laoongsi. K..(2014). Isan, Laos, Khmer: A study in
Asian community’s perspectives. Samuprakarn: The
foundation of Toyota in Thailand.
Kruathong. N. (2016.). Revealing the plan of conquering Lana
Kingdom. Bangkok: Silapawattanatum.
Ieowsiwong. N. (2014). Thai Nation Thailand Textbooks and
Monuments : The Culture State Cognition. (3ed.). Bangkok:
Matichon.
Mala. T. (2013). Development of the head villages: Status and being
under the decentralization context. Journal of Parliament.
Volume 5. pp. 44-67
Mettarikanon, D. (2005). Local history. (2ed.). khon kaen:
Klangnawitaya.
Mektrairat. N. (2003). The roles of the subdistict headman and the
village headman. A research report offered to Office of
Krisdika Committee.
Petleartanan. T. The Discourse of Losing Territory. Charnvit Kasetsiri
(Editor). Siam Thailand: Losing or Gaining Laos and Khmer
Territory. Bangkok: The Foundation for the Promotion of Social
Science and Humanities Textbooks Project. Pp. 2-67.
Petleartanan. T. (2009). Siam Thailand: Gaining Khmer and Laos
Territories. Bangkok: The Foundation for the Promotion of
Social Science and Humanities Textbooks Project.
Phuta. P. (editor). (2002) A History of Holy Rebellion 100 years ago.
Ubonratchatani: Ubonratchatani Network.
Praratanobol. (1987). A History of Ubonratchatani. Coppied from
ancient palm leave.
Ratchakool. C. (2014). Making history. Bangkok: Reading Publishing.
Sanutrawanich, C. (1992). 100 years of the bureaucratic revolution:
Envelopment of state power and political power. Bangkok : P.
Pressing.
Saraya. T. Ancient State in South East Asia Main Land: The Origin
and Development. Bangkok: Muangboran Publishing. Pp. 254-
271.
Stuart-Fox. M. (2010). A History of Laos. Translated by Jirapron
Winyarat. Bangkok: The Foundation for the Promotion of Social
Science and Humanities Textbooks Project.
Tani. R. (2003). Ubonrathatani in the past. (2ed.). Ubonrathatani:
Rungsilapa Publishing.
Terasasawat. S. (2014). A History of Isan during 1799-1945. Khon Kaen:
Klangwitaya Publishing.
Winichakul, T. (2013). Geo-Body and History. Translated by
Puangthong Pawakapan.Charnvit Kasetsiri (Editor). Siam
Thailand: Losing or Gaining Laos and Khmer Territory. Bangkok:
The Foundation for the Promotion of Social Science and
Humanities Textbooks Project.
Winichakul, T. (2016). “Losing territory” The history of alluring
subjects to die. Bangkok: Same Sky Publishing.
Wipakpojjanakit. T. (2011). Isan history. (4ed.). Bangkok: Thailand
Association.
Online
The 22nd Sunpasit Military Camp. The history of The 22nd District.
[Online]. Source:
http://22circle.com/index.php/22?name=page&file=page&op=%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2 (12 September 2018).
Benchama Maharach School. The history of Benchama Maharach
School [Online]. Source:
http://www.benchama.ac.th/site/index.php/about-us/history
(12 September 2018).
GuideUbon. Revive the myth of the hadsading funeral ritual at Tungsrimuang Ubon. School [Online]. Source: http://www.guideubon.com/2.0/ubon-story/829/ (12กันยายน 2561).