การจัดการเชิงสถาบันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเปิดเผยข้อมูลทางการคลังและงบประมาณกับการจัดทำแผนและงบประมาณอย่างมีส่วนร่วม: วิเคราะห์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับเทศบาลเมือง

ผู้แต่ง

  • ศิริพร จันทนสกุลวงศ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การจัดการเชิงสถาบัน, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, การบริหารการคลังท้องถิ่น

บทคัดย่อ

ในการศึกษาการจัดการเชิงสถาบัน ตามแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม่ที่ให้ความสำคัญกับ “สถาบัน” ว่าเป็นกลุ่มทางสังคม หรือองค์กรที่มีบทบาทสำคัญ คอยกำกับ ควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ และการจัดสรรทรัพยากร ในระบบเศรษฐกิจ บทบาทของสถาบันในงานชิ้นนี้คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการเปิดเผยข้อมูลการเงินการคลังให้แก่ประชาชน บทความนี้มุ่งศึกษากรอบการวิเคราะห์จัดการเชิงสถาบันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเปิดเผยข้อมูลทางการคลังและงบประมาณกับการจัดทำแผนและงบประมาณแบบมีส่วนร่วมของประชาชน โดยในการศึกษากรอบการวิเคราะห์ใช้วิธีการตามทฤษฎีจากฐานราก เพื่อนำมาอธิบายและทำความเข้าใจการจัดการเชิงสถาบันในการเปิดเผยข้อมูลทางการคลังและงบประมาณโดยกรอบการวิเคราะห์มุ่งวิเคราะห์ไปที่ปฏิสัมพันธ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในฐานะองค์กรต้นทางในการเปิดเผยข้อมูลทางด้านการคลังและงบประมาณแก่ประชาชนกับการที่ประชาชนได้รับข้อมูลเหล่านั้นเพื่อนำมาใช้ในการตัดสินใจในกระบวนการจัดทำแผนและงบประมาณอย่างมีส่วนร่วม  ผลการศึกษาพบว่าการเปิดเผยข้อมูลทางด้านการคลังและงบประมาณแก่ประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกลุ่มตัวอย่างเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด แต่การเข้าถึงของประชาชนยังมีอยู่อย่างจำกัด เนื่องจากเนื้อหาเกี่ยวกับการคลังและงบประมาณเป็นส่วนที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อน ประชาชนเข้าใจได้ยาก การนำเข้ามูลเพื่อนำไปใช้ในการมีส่วนร่วมจึงจำกัด อย่างไรก็ตามหากมีการส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลทางด้านการคลังและงบประมาณก็จะส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนและงบประมาณมากขึ้น

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง
กานต์ระวี วิชัยปะ. (2562). การศึกษาปัญหาการคลังท้องถิ่นด้านรายได้ กรณีศึกษา
เปรียบเทียบเทศบาลนครปากเกร็ด และเทศบาลตำบลเสาธงหิน, วารสารการบริหารปกครอง 8 (2): 501 - 525
ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา. (2560. การศึกษากระบวนการและผลลัพธ์ของการจัดทำ
นโยบายงบประมาณโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน : กรณีศึกษา สภาเมืองขอนแก่น เทศบาลนครขอนแก่น. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า
วีระศักดิ์ เครือเทพ. (2553). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการจัดทำงบประมาณขององค์การบริหารส่วนตำบล.
กรุงเทพฯ : สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.
วีระศักดิ์ เครือเทพ. (2553). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำงบประมาณ
ขององค์การบริหารส่วนตำบล (Participatory Budgeting in Tambon Administrative Organization) : ฤาจะสวยงามดั่งเทพธิดาดั่งเทพธิดาในนิทาน.กรุงเทพฯ: ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อาทิตย์ ผดุงเดช และ วีระกุล ชายผา. (2562). การพึ่งพาตนเองทางด้านรายได้ของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง. วารสารการบริหารปกครอง 8 (1): 181 – 202.
Brillantes, A. B.,Jr. (2003). Innovations and Excellence, Understanding
Local Governments in the Phillippines. Center for Local and Regional Governance, National College of Public Administration and Governance-University of the Philippines. Quezon City: Diliman.
Buchanan, J. M. (1965). An Economic Theory of Clubs, 32 Exonomica,1-14.
Ebdon, C. and Franklin, A.(2006) .Citizen Participation in Budgeting Theory.
Public Administration Review. May-June, 66 (3);Pp437-447.
Folscher, A.(2007). “Participatory Budgeting in Asia.” In Participatory
Budgeting.edited by Shah.157-188.Washington DC.
:The World Bank.
International Budget Partnerships.(2017). Open Budget Survey 2017.
North, D. (1991).Institutions, Institutional Change and Economic
Performance. New York: Cambridge University Press.
Olson, M. (1965). The Logic of Collective Action: Public Goods and the
Theory of Groups, Cambridge, MA, Harvard University Press,186p.
Rhee, S. (2005).A study of Citizen Participatory Budgeting in Seoul
Metropolitan Government. Seoul: Seoul Development Institute.
Sintomer et al.(2008).Participatory Budgeting in Europe: Potentials and
challenges.International Journal of Urban and Regional Research. March 2008, Volume 32.1:Pp164-178.
Sintomer, Y., Herzberg, C. and Röcke, A. (eds) .(2005). Participatory
Budgets in a European Comparative Approach: Perspectives and chances of the cooperative state at the municipal level in Germany and Europe. Düsseldorf: Hans-Böckler Stiftung and Centre Marc Bloch.
Shan, A.(2007). Participatory Budgeting. Washington,D.C: The World
Bank.1-11.
Suwanmala, C.(2007). Participatory budgeting. In Thailand : Civic
participation in subnational budgeting,. (269). Washington D.C.
: The World Band.
Wampler, B.(2007).A Guide to Participatory Budgeting.In Participatory
budgeting,ed.Anwar Shah.27-54. Washington, Dc:World Bank.
Williamson, O. (2000).The New Institutional Economics: Take Stock,
Looking Ahead. Journal of Economic Literature,Vol.38, No.3. (Sep, 2000),pp.595-613.
World Bank Institute Capacity Development and Results. (2014). Evidence
of Development Impact from Institutional Change: A Review of the Evidence on Open Budgeting. The World Bank Institute.

Translated Thai References
Krueathep,W. (2010). Final Report: Research Project for Participatory
Budgeting in Tambon Administration Organization. Bangkok: King Prajadhipok’s Institute.
Krueathep, W.(2010). Participatory Budgeting in Tambon Administrative
Organization. Bangkok :Chulalongkorn University.
Phadungdech, A. and Chaiphar, W. (2019). Revenue Self-Riant of Local
Administrative Organizations in Mid North Eastern Provincial Cluster, Governance Journal 8 (1): 181 – 202.
Sudhipongpracha, T.(2017).Process and Outcome of Local Participatory
Policy Planning and Budgeting : a Case of Khon Kaen City
Council, Khon Kaen nakorn Municipality.Bangkok: King
Prajadhipok’s Institute.
Wichaipa, K. (2019). The Study of Local Fiscal Problems in Income: A
Comparative Case Study of Pak Kred Municipality and Sao Thong Hin Subdistrict Municipality, Governance Journal 8 (2): 501 – 525.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-28