ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมรายได้ภาคครัวเรือนเกษตรในจังหวัดชัยภูมิ
คำสำคัญ:
หน่วยงานภาครัฐ, ครัวเรือนเกษตร, จังหวัดชัยภูมิบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมรายได้ของภาคครัวเรือนเกษตรในจังหวัดชัยภูมิ และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการส่งเสริมรายได้ของภาคครัวเรือนเกษตรในจังหวัดชัยภูมิ ใช้วิธีวิจัยแบบผสม กล่าวคือ การวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือคือแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโรยามาเน่ วิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณโดยใช้วิธีการคัดเลือกตัวแปรแบบเป็นลำดับขั้น และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มเป้าหมายในการสัมภาษณ์ จำนวน 15 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสร้างข้อสรุปเชิงอุปนัย ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมรายได้ของภาคครัวเรือนเกษตรในจังหวัดชัยภูมิ มี 6 ปัจจัย เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ รายได้เฉลี่ยรวมของครัวเรือน X3 ภาระหนี้สินของครัวเรือนX5 จำนวนผู้พึ่งพิงในครัวเรือน X4 สถานภาพการทำงานของหัวหน้าครัวเรือน X2 เขตที่อยู่อาศัยของครัวเรือน X6 จำนวนสมาชิกในครัวเรือนX1 โดยทั้ง 6 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมรายได้ของภาคครัวเรือนเกษตรอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 มีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ได้ดังนี้ 15.255ZX3+19.441ZX515.124ZX4+4.091ZX23.447ZX6+3.832ZX1 สำหรับแนวทางการพัฒนาการส่งเสริมรายได้ของภาคครัวเรือนเกษตรในจังหวัดชัยภูมิ คือ ศูนย์ส่งเสริมการเกษตรประจำจังหวัด ควรแก้ปัญหาหนี้สิน ส่งเสริมด้านการออม จัดทำต้นทุนการเกษตรกรรม จัดทำรายรับ-รายจ่าย ส่งเสริมพัฒนาให้ชุมชนจัดทำโครงการกองทุนหมู่บ้านให้มีรายได้จากการทำเกษตรกรรมครัวเรือน องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นจัดทำอุตสาหกรรมครัวเรือน ปลูกผักสวนครัว แปรรูปอาหารการเกษตรจัดตั้งกองทุนการเกษตรกรรมเพิ่มขึ้น ในการลดต้นทุนแต่เพิ่มรายได้ในภาคครัวเรือนจากการปลูกผักสวนครัวภาคครัวเรือนอบรมเกี่ยวกับการออมของครัวเรือนสร้างวินัยให้แก่สมาชิกครัวเรือนการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากผักสวนครัวสร้างรายได้แบบผสมผสานโดยเศรษฐกิจพอเพียง และสำนักงานเกษตรประจำจังหวัด ส่งเสริมการสร้างรายได้จากเศรษฐกิจพอเพียง ให้ชุมชนจัดทำกองทุนหมู่บ้านสร้างอาชีพรองจากการทำการเกษตร
Downloads
References
ด้านการบริหารจัดการองค์กรกีฬาในประเทศไทย: การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ชาติพันธุ์วรรณนาอภิมาน. วารสาร มทร อีสาน ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 4 (2): 91-113.
กมล สมิติรัต. (2549). การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชาวสวนในคลองบางกรวย
นนทบุรีระหว่าง พ.ศ. 2445 – 2511. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
สาขาวิชาประวัติศาสตร์.บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กุลวดี ลิ่มอุสันโน. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่างการหมุนเวียนผู้สอบบัญชี
ระยะเวลาการเป็นผู้สอบบัญชีในบริษัทลูกค้ากับการจัดการกำไรของ
บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย SET 100.
วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
จัตุรมงคล ดนตรี. (2558). ปัญหาและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการนำมาตรฐาน
การบัญชีฉบับที่ 41 เรื่อง เกษตรกรรมมาปฏิบัติใช้ของบริษัทกลุ่มพืชทาง
การเกษตร. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต สาขาบัญชีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นงณพร ทับทิมทวีโชค. (2556). ความรู้ความเข้าใจและความคิดเห็นของเกษตรกร
ผู้ปลูกข้าวกลุ่มจังหวัดอีสานตอนใต้ที่มีต่อโครงการประกันรายได้เกษตรกร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์.
พัชรพรรณ ยาโน. (2552). วิถีชีวิตกับการพัฒนาอาชีพของเกษตรกรแบบผสมผสาน
ในจังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการแนะแนว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วัลลภ รัฐฉัตรานนท์. (2557). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพ:
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สำนักงานคลังจังหวัดชัยภูมิ. (2563). รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดชัยภูมิ.
เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2563. จาก
https://www.cgd.go.th/cs/Satellite?blobcol=urldata&blobheadername1=Content-Disposition&blobheadername2
สำนักงานจังหวัดชัยภูมิ. (2563). ข้อมูลจังหวัดชัยภูมิ. เข้าถึงเมื่อ. 20 กุมภาพันธ์
2563, จาก http://www.chaiyaphum.go.th/page_about/about4.1.php
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2562). สรุปผลการสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากร
เดือนธันวาคม พ.ศ.2562. เข้าถึงเมื่อ 20 มกราคม 25623 จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/%e0%b8% 94%e0%b9 %89%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0 /2562/Report_12-62.pdf
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). รายงานการ
วิเคราะห์สถานการณ์ ความยากจนและความเหลื่อมล้ำระดับภาคในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2563, จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=7787
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2562ก). ภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและแรงงาน
เกษตร. เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2563 จาก http://www.oae.go.th/view/1/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0% B8%B0%E0% 31802/TH-TH
สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร (2562ข). ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2562 และ
แนวโน้มปี 2563. เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2563, จาก http://www.oae.go.th/assets/portals/1/fileups/bappdata/files/ Outlook2562/Year%202562_2563.pdf
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). GDP ไตรมาสที่สี่ทั้งปี
2562 และแนวโน้มปี 2563. เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 253 จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid =9892&filename=QGDP_report
Translated Thai References
Chaiyaphum Provincial Office of The Comptroller General’s Department.
(2020). Chaiyaphum Province Fiscal Policy Report. Retrieved
February 20, 2020, from https://www.cgd.go.th/cs/ Satellite?blobcol=urldata&blobheadername1=Content-Disposition&blobheadername2.
Chaiyaphum Provincial Office. (2020). Data of Chaiyaphum Province. Retrieved on February 20, 2020, from
http://www.chaiyaphum.go.th/page_about/about4.1.php.
Dontri, J. (2015). The Survey Research about Problems and Impacts of Thai Accounting Standard No.41 Agriculture on the business of Agriculture Plants. A Thesis Master Degree of Accounting, Faculty of Commerce and Accountancy, Thammasat University.
Lim-u-sanno, K. (2oo3). Relationship between auditor rotation, duration of being an auditor in a client company and profit management of listed companies in Thailand SET 100. A Thesis Master Degree of Accounting, Prince of Songkla University.
National Statistical Office. (2019). Summary of the Survey Results of the Working Situation of the Population in December 2019. Retrieved February 20, 2020, from http://www.nso.go.th/sites /2014/DocLib13/%e0%b8% 94%e0%b9 %89%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0 /2562/Report_12-62.pdf.
Office of Agricultural Economics. (2019 a). Economic, Social, Household and Agricultural Labor Conditions. Retrieved February 20,2020,
from http://www.oae.go.th/view/1/%E0%B8%A0
%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0% B8%B0%E0% 31802/TH-TH.
Office of Agricultural Economics. (2019 b). Agricultural Economic Conditions in 2019 and Trends in 2020. Retrieved February 20,
2020, from http://www.oae.go.th/assets/portals/1/fileups/bappdata /files/Outlook2562/Year%202562_2563.pdf.
Office of the National Economic and Social Development Board. (2018).
Regional Poverty Situation and Inequality Analysis Report in
Thailand. Retrieved February 20, 2020, from https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=7787.
Office of the National Economic and Social Development Council. (2020).
GDP for the fourth quarter of 2019 and outlook for 2020.
Retrieved February 20, 2020, from https://www.nesdc.go.th
/ewt_dl_link.php?nid =9892&filename=QGDP_report.
Rathachatranon, W. (2014). Research Techniques in Social Sciences, Firth edition, Bangkok: Kasetsart University.
Samittirat, K. (2006). The Changing Way of Life of The Orchards Man at Bangkruoi Nonthaburi During 1902 – 1968. A Thesis Master Degree of History, Graduate School Srinakharinwirot University.
Tubtimthawechok, N. (2013). Cognition and the Opinion of rice farmer
on Income Guarantee Scheme in The Southern Isan
provinces groups Thailand. A Thesis Master Degree of Science, Graduate School of Applied Statistics, National Institute of Development Administration.
Virutsetazin, K., and Wimonwatwatee, T. (2010). The Synthesis a Research Thesis on the Managemant of Sports Organizations in Thailand: The Application of Meta-Ethnography Rmuti Journal 4 (2): 91-113.
Yano, P. (2009). Lifestyle and Career Development of Integrated System Farmers in Chumporn Province. A Thesis Master Degree of Education. Graduate School, Srinakarinwirot University.