การตีความเชิงวิพากษ์ภายใต้กระบวนการสื่อสารของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาในการดำเนินนโยบายสาธารณะ

ผู้แต่ง

  • ทศพล ชิ้นจอหอ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • วัชรพล พุทธรักษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

นโยบายสาธารณะ, การตีความ, การวิเคราะห์เชิงวิพากษ์

บทคัดย่อ

 

บทความชิ้นนี้วิพากษ์ตัวแบบนโยบายสาธารณะ (Models of Public Policy) ได้แก่ ตัวแบบเชิงสถาบัน ตัวแบบชนชั้นนำ ตัวแบบเชิงระบบ และตัวแบบหลักเหตุผลซึ่งมีปัญหาหลักคือการมุ่งเน้นเชิงเทคนิคมากเกินไปจึงได้ละเลยประเด็นเรื่องของคุณค่าและบรรทัดฐานทางสังคมในทางตรงกันข้ามเป็นความโดดเด่นของแนวทางการตีความ (Interpretive Approach) และการศึกษาเชิงวิพากษ์ (Critical Approach) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกระบวนการสื่อสารของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาภายใต้หน่วยการิเคราะห์แนวทางการตีความเชิงวิพากษ์จากรายงานสถานการณ์ในช่วงของการแพร่ระบาดที่มีต่อประชาชนเพื่อวิพากษ์กระบวนการสื่อสารที่เกิดขึ้นและสร้างการเปรียบเทียบตัวอย่างการวิเคราะห์จากตัวแบบนโยบายสาธารณะและแนวทางการตีความเชิงวิพากษ์ทั้งในมุมมองของจุดแข็งและข้อจำกัดในการทำความเข้าใจผลการศึกษาพบว่าความพยายามสร้างกระบวนการสื่อสารที่เกิดขึ้นนั้นเพื่อต้องการรักษาอำนาจของรัฐในช่วงระหว่างปัญหาความล่าช้าของการนำเข้าวัคซีนรวมไปถึงปัญหาทางด้านเศรษฐกิจซึ่งอาจจะก่อให้เกิดประเด็นทางการเมืองและความเชื่อมั่นต่อสังคมส่วนรวมได้

 

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง

ภาษาไทย

กมเลศ โพธิกนิษฐ. (2563). ทฤษฎีนโยบายสังคมและการวิพากษ์นโยบาย. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

กรมองค์กรระหว่างประเทศ. (2559). ไทยกับสหประชาติ (กระทรวงต่างประเทศ). ค้นเมื่อ 18 พฤษภาคม 2564, จาก www.mfa.go.th/thai_inter_org/th/relation?fbclid

บีบีซี. (2564). ฆ่าตัวตาย : ตัวเลขคนไทยปลิดชีพตัวเองไต่ระดับขึ้นระหว่างการระบาดของโควิด-19. ค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2564, จาก www.bbc.com/thai/thailand-57721370

ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2561). นโยบายสาธารณะแนวการตีความ Interpretive Public Policy. มหาสารคาม: อภิชาติ.

ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2557). นโยบายสาธารณะแนวทางการตีความ. วารสารการเมืองปกครอง, 4(2), 13-31.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์ และพบสุข ช่ำชอง. (2563). การออกแบบนโยบายที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง Inclusive Policy Design. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.

ปิยะพงษ์ บุษบงค์. (2552). การกำหนดนโยบายสาธารณะ : กระบวนการทัศน์ แนวทาง ตัวแบบ กรอบ และเทคนิค. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.

พฤทธิสาณ ชุมพล, ม.ร.ว. (2556). ระบบการเมือง : ความรู้เบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มยุรี อนุมานราชธน. (2556). นโยบายสาธารณะ Public Policy. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ต.

วัชรพล พุทธรักษา. (2564). นโยบายศึกษาในมุมมอง Political Philosophy/ Thoughts/ Theories: ศึกษานโยบายในฐานะเส้นทางสู่การสร้างสังคมการเมืองที่ดี. ใน ปิยะพงษ์ บุษบงค์ และธีรพัฒน์ อังศุชวาล (บรรณาธิการ). นโยบายศึกษาจากหลากมุมมอง Policy studies from different perspectives. เชียงใหม่: สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 68-73.

วีระ หวังสัจจะโชค. (2556). การจัดสถาบันของนโยบายจำนำข้าว. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กระทรวงมหาดไทย. (2563). คำสั่ง ศบค.มท. ที่ 2/2563 19 ต.ค. 63 เรื่อง จัดตั้งสำนักงานศูนย์บริหารสถานการร์การเเพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวไรโคโรนา 2019 กระทรวงมหาดไทย (ศบค.มท.). ค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2564, จาก www.moicovid.com/คำสั่ง/?fbclid=IwAR1wJAhaVjwkRdkqmg

สมพร เฟื่องจันทร์. (2552). นโยบายสาธารณะ: ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ออน อาร์ต ครีเอชั่น.

สัญญา เคณาภูมิ. (2559). กรอบแนวคิดการศึกษานโยบายสาธารณะ. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 11(33), 1-15.

อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (2561). การอธิบายกับการวิเคราะห์ทางการเมือง: แนวคิดและข้อโต้แย้งทางปรัชญาสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.

อุทัย ปริญญาสุทธินันท์. (2562). นโยบายสาธารณะกับชุมชนบางเหรียง : ประเด็นทบทวนสู่ความสำเร็จและยั่งยืนของการขับเคลื่อนนโยบาย Public Policy and Bang Rieang Community: Reviewed Issues for Success and Sustainability of Policy Driving. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10(1), 91-120.

ภาษาอังกฤษ

Benton, T. and Craib, I. (2011). Philosophy of Social Science: The Philosophical Foundations of Social Thought (Traditions in Social Theory). Basingstoke: Palgrave Macmillan.

Dye, T. R. (2017). Understanding Public Policy (15nd ed.). London:

Pearson.

Easton, D. (1953). The Political System. New York: Knopf.

Fisher, F. (2015a). In pursuit of usable knowledge: critical policy analysis and the argumentative turn. in Fischer, F., Torgerson, D., Durnova, A., and Orsini, M. (Editor). Handbook of Critical Policy Studies. United Kingdom: Edward Elgar Pub, pp. 47–66.

Fischer, F. (2003b). Reframing Public Policy: Discursive Politics and

Deliberative Practices. New York: Oxford University Press.

Gauttam, P. Singh, B. and Kaur, J. (2020). COVID-19 and Chinese Global Health Diplomacy: Geopolitical Opportunity for China’s Hegemony. Millennial Asia, 1 - 3.

Lowndes, V. (2010). The Institutional Approach. in Marsh, D., and Stoker, G. (Editor). Theory and Methods in Political Science (3nd ed.). United Kingdom: Palgrave Macmillan, pp. 62–79.

Peters, G. D. and Fontaine, G. (2020). Handbook of Research Methods and Applications in Comparative Policy Analysis. United Kingdom: Edward Elgar Pub.

Pfiffner, J. P. (2005). Presidential Decision Making: Rationality, Advisory Systems, and Personality. Presidential Studies Quarterly, 35 (2), 217 - 228.

Torgerson, D. (2015). Harold D. Lasswell and critical policy studies: the threats and temptations of power. in Fischer, F., Torgerson, D., Durnova, A., and Orsini, M. (Editor). Handbook of Critical Policy Studies. United Kingdom: Edward Elgar Pub, pp. 27–46.

Wagenaar, H. (2015). Transforming perspectives: the critical functions of interpretive policy analysis. in Fischer, F., Torgerson, D., Durnova, A., and Orsini, M. (Editor). Handbook of Critical Policy Studies. United Kingdom: Edward Elgar Pub, pp. 422–440.

Yanow, D. (2007). Qualitative-Interpretive Methods in Policy Research. In Fischer, F., Miller, G. J., & Sidney, M. S., (Eds.), Handbook of Public Policy Analysis Theory, Politics, and Methods. (pp.405-416). Boca Raton: CRC Press.

Translated Thai Refences

Anumanratthana, M. (2013). Public Policy. Bangkok: Ekspenent.

BBC. (2564). Suicide: During the COVID-19 outbreak, the number of Thai people that killed increased. Retrieved on 5 August 2021, Retrieved From www.bbc.com/thai/thailand-57721370

Buddharaksa, W. (2021). Policy Studies in Perspective Political Philosophy, Thoughts and Theories: Study Policy for Path to Create a Good Political Society. In Boossabong, P. and Ungsuchaval, T. (Editor). Policy Studies from Different Perspectives. Chiang Mai: Chiang Mai University School of Public Policy, pp. 68-73.

Boossabong, P. and Chamchong, P. (2020). Incursive Policy Design. Bangkok: Ruankaeo Kanphim.

Boossabong, P. (2009) The Public Policy Process: Paradigm, Process, Model, Frame and Technique. Bangkok: Sematham.

Chumphon, P. (2013). Political System: Fundamental Knowledge (12nd ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press.

COVID-19 Situation Administration Communication Center. (2020). Order to Establish an COVID-19 Situation Administration Communication Center (No.2/2563 19 October 2021). Retrieved on 1 August 2021, Retrieved from www.moicovid.com/order/fbclid=IwAR1wJAhaVjwkRdkqmg

Department of International Organization. (2559). Thai and United Nations (Ministry of Foreign Affairs). Retrieved on 18 May 2021,Retrieved From www.mfa.go.th/thai_inter_org/th/relation?fbclid

Fuangchan, S. (2009). Public Policy: Theory and Practice. Bangkok: On Art Creation.

Khenaphum, S. (2016). Introduction of Public Policy. Social Sciences Research and Academic Journal, 11(33), 1-15.

Limmani, A. (2018). Political Analysis and Explanation: Social Science, Philosophy, Concepts, and Arguments. Bangkok: Sayam Parithat.

Parinyasutinan, U. (2019). Public Policy and Bang Rieang Community: Reviewed Issues for Success and Sustainability of Policy Driving. Humanities and Social Sciences Journal, 10(1), 91-120.

Photikanit, K. (2563). Social Policy Theories and Critical Policy. Phitsanulok: Naresuan University Publishing House.

Songklin, P. (2018). Interpretive Public Policy. Maha Sarakham: Apichart.

Songklin, P. (2014). Public Policy: Interpretive Approach. Journal of Politics

and Governance, 4(2), 13-31.

Wongsatjachock, W. (2013). Institutional Arrangement of Rice Pledging Policy (Doctoral Dissertation). Bangkok, Chulalongkorn University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-13