ความคาดหวัง การรับรู้ และความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการบริการของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ผู้แต่ง

  • กัลยา สูงสว่าง กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม
  • ปาจรีย์ แน่นหนา สถาบันเกษตราธิการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • ปิยากร หวังมหาพร วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

คำสำคัญ:

คุณภาพการบริการ, ความคาดหวัง, การรับรู้, ความพึงพอใจ, หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

บทคัดย่อ

           งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคาดหวัง ระดับการรับรู้ และความพึงพอใจที่มีต่อคุณภาพการบริการ และความแตกต่างระหว่างระดับความคาดหวังและระดับการรับรู้ต่อคุณภาพการบริการของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด คือ นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปีการศึกษา 2563 จำนวน 58 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และใช้การทดสอบสมมติฐานด้วยการเปรียบเทียบปัจจัย t-test วิเคราะห์คุณภาพการบริการโดยใช้ค่าคะแนนเฉลี่ยของการรับรู้ในคุณภาพการบริการลบด้วยค่าคะแนนเฉลี่ยของความคาดหวังในคุณภาพการบริการ

              ผลการวิจัย พบว่า ระดับการรับรู้และระดับความคาดหวังอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ในขณะที่ความพึงพอใจที่มีต่อคุณภาพการบริการอยู่ในระดับที่ควรปรับปรุง เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างระดับความคาดหวังกับระดับการรับรู้พบว่ามีค่าติดลบทั้ง 5 ด้าน (ตั้งแต่ -0.05 ถึง -0.72) แต่มีช่องว่างค่อนข้างต่ำ โดยด้านความเป็นมืออาชีพ (-0.05) มีความพึงพอใจมากที่สุด เนื่องจากอาจารย์ดูแลใส่ใจลูกศิษย์เหมือนคนในครอบครัวทำให้นักศึกษามีความพึงพอใจ ส่วนด้านความมีน้ำใจไมตรีของเจ้าหน้าที่ (-0.72) มีความพึงพอใจน้อยที่สุด จึงควรต้องมีการปรับปรุงในการใส่ใจนักศึกษารายบุคคลให้มากกว่าเดิม

References

ภาษาไทย

ใจชนก ภาคอัต. (2555). การรับรู้และการมีส่วนร่วมของบุคลากรสถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพสถาบันสู่ความเป็นเลิศตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ชัชวาลย์ เรืองประพันธ์. (2539). สถิติพื้นฐาน. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.

พิชญดา ดอนสมจิตร. (2555). การเปรียบเทียบคุณภาพบริการของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ประเทศกัมพูชาและไทย. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ภานุชนาถ เพิ่มพูน และ บรรดิษฐ พระประทานพร. (2564). คุณภาพการให้บริการที่มีผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต กรณีศึกษา นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา, 11(1), 87-101.

มุกดาฉาย แสนเมือง และชลธิศ ดาราวงษ์. (2560). ความคาดหวัง การรับรู้ และความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการบริการในหลักสูตรนานาชาติในมหาวิทยาลัยไทย. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ฯ, 6(1), 130-143.

วรุตม์ อิงคถาวรวงศ์ และ ไพโรจน์ ภัทรนรากุล. (2561). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำระบบประกันคุณภาพภายใน

ไปปฏิบัติ: กรณีศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย. วารสารการบริหารปกครอง, 7(2), 1-31.

วิสุทธิณี ธานีรัตน์. (2565). ความคาดหวังของนักศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ต่อมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาเขตตรังภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19. วารสารการบริหารปกครอง, 11(1), 55-71.

ภาษาอังกฤษ

Darlaston-Jones, D., Pike, L., Cohen, L., Young, A., Haunold, S. and Drew, N. (2003). Are They Being Served. Student Expectations of Higher Education, 13, 1-19.

Gronroos, C. (1982). An Applied Service Marketing Theory. European Journal of Marketing, 16, 30-41.

Guralnik, David B. (1986). Webster’s New World Dictionary of America Language. Second Edition. Cleveland, Ohio: Prentice-Hall Press.

Parasuraman, A, Zeithaml, V A and Berry, L L (1988). SERVQUAL: A Multiple Item Scale for Measuring Consumer Perceptions of Service Quality. Journal of Retailing, 64(1), 12-40.

Shekarchizadeh, A., Rasli A., and Hon-Tat, H. (2011). SERVQUAL in Malaysian Universities:Perspectives of International Students.Business Process Management Journal, 17(1), 67-81.

Smith, R. A. and Houston, M J (1982). Script-based Evaluations of Satisfaction with Services.

in Berry, L., et al. (eds.), Emerging Perspectives on Services Marketing, Chicago: American Marketing Association.

Tan, K.C. and Kek, S.W. (2004). Service Quality in Higher Education Using an Enhanced SERVQUAL Approach. Quality in Higher Education, 10(1), 17-25.

Translated Thai References

Donsomjitr. P. (2012). A Comparative Study on Service Quality between Cambodia and Thailand Logistics Service Providers.Bangkok: King Mongkut's University of Technology Thonburi. (in Thai)

Ingkhathawornwongand, W. and Pathranaraku, P. (2018). Factors Influencing Implementation of Internal Quality Assurance (IQA): A Case Study of Master of Public Administration Programs. Governance Journal, 7(2), 1-31. (in Thai)

Parkart. J. (2012). The Perceptions and Participation of National Institute of Development Administration Personnel for Development Institute Quality to be Successful Following Thailand Quality Award Standard. Bangkok: Nation Institute of Development Administration. (in Thai)

Permpoon, P. and Phrapratanporn, B. (2021). Service Quality Affecting Decision Making through Master of Business Administration Selection: Case of Student of Suan Sunandha Rajabhat University. The Journal of Development Administration Suan Sunandha Rajabhat University, 11(1), 87-101. (in Thai)

Ruengprapan, C. (1996). Basic Statistics. Khon Kaen: Klang Nana Wittaya Printing. (in Thai)

Sandmaung, M. and Darawong, C. (2017). Students’ Expectation, Perception, and Satisfaction with Service Quality of International Programs of Thai Universities. Journal of Business Administration, The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand Southeast Bangkok College, 6(1), 130-143. (in Thai)

Taneerat, W. (2022). Expectations of Public Administration Students toward Prince of Songkla University, Trang Campus under the Situation of the COVID-19 Epidemic. Governance Journal, 11(1), 55-71. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-26

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)